ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สารานุกรมบริแทนนิกา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Miwako Sato (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ย้อนการแก้ไขของ 2001:44C8:42A1:AF9A:0:0:0:1 (พูดคุย) ไปยังรุ่นก่อนหน้าโดย Potapt
ป้ายระบุ: ย้อนรวดเดียว
 
(ไม่แสดง 6 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้ 6 คน)
บรรทัด 1:
{{กล่องข้อมูล หนังสือ
| name = สารานุกรมบริแทนนิกา<br />Encyclopædia Britannica
| image = Americanized Encyclopædia Britannica title page.jpg
| image_caption = ''Encylopædia Britannica'' ฉบับพิมพ์ใหม่ของอเมริกัน (ค.ศ. 1899)
| author = ฉบับ ค.ศ. 2008 มีผู้เขียนที่ปรากฏชื่อ 4,411 คน
| country = [[สหราชอาณาจักร]] (ค.ศ. 1768–1900) <br />[[สหรัฐอเมริกา]] (ค.ศ. 1901–ปัจจุบัน)
| language = [[ภาษาอังกฤษแบบบริติช|อังกฤษแบบบริติช]]
| subject = ทั่วไป
| genre = [[สารานุกรม]]สำหรับงานอ้างอิง
| publisher = Encyclopædia Britannica, Inc.
| release_date = ค.ศ. 1768–ปัจจุบัน{{Plainlist|
* ค.ศ. 1768–2010 (ฉบับหนังสือ)
* ค.ศ. 2010–ปัจจุบัน (ฉบับออนไลน์)}}
| media_type = ฉบับ ค.ศ. 2008 มี 32 เล่ม (ปกแข็ง)
| isbn = ISBN 1-59339-292-3
| oclc = 71783328
| dewey = 031
| congress = AE5 .E363 2007
| wikisource = Encyclopædia Britannica
| website = {{URL|britannica.com}}
}}
 
'''สารานุกรมบริแทนนิกา''' ({{lang-la|Encyclopædia Britannica}}; "สารานุกรมบริติช") เป็น[[สารานุกรม]]ใน[[ภาษาอังกฤษ]]ว่าด้วย[[ความรู้ทั่วไป]] เดิมมีผู้พิมพ์เผยแพร่ คือ [[บริษัทสารานุกรมบริแทนนิกา]]และบุคคลอื่น ๆ และมีผู้เขียนเป็นบุคคลราว 100 คนซึ่งมาเขียนให้เต็มเวลา กับอีกราว 4,000 คนซึ่งมาเขียนให้นอกเวลา ปัจจุบัน ไม่ตีพิมพ์เป็นเล่มแล้ว แต่เผยแพร่แบบออนไลน์แทน
 
สารานุกรมบริแทนนิกาตีพิมพ์ครั้งแรกในช่วง ค.ศ. 1768–1771 ณ [[เอดินบะระ]] เมืองหลวงของ[[สกอตแลนด์]] เป็นฉบับที่แบ่งเป็น 3 เล่ม ฉบับที่ 2 ขยายเนื้อหามากเป็น 10 เล่ม<ref name = ":0">{{cite web|url=http://corporate.britannica.com/company_info.html|title=History of Encyclopædia Britannica and Britannica Online|accessdate=31 May 2019|publisher=Encyclopædia Britannica, Inc|url-status = dead|archiveurl=https://web.archive.org/web/20061020084752/http://corporate.britannica.com/company_info.html|archivedate=20 October 2006}}</ref> พอถึงฉบับที่ 4 (ค.ศ. 1801–1810) ปรากฏว่ามีถึง 20 เล่ม<ref>{{cite web|url=http://corporate.britannica.com/company_info.html|url-status = unfitdead|archiveurl=https://web.archive.org/web/20010609041910/http://corporate.britannica.com/company_info.html|archivedate=9 June 2001|website=Britannica.com|title=History of Encyclopædia Britannica and Britannica.com|accessdate=31 May 2019}}</ref> ความที่เป็นงานวิชาการซึ่งมีเนื้อหาทวีขึ้นเรื่อย ๆ นี้ ทำให้ได้บุคคลสำคัญหลายคนมาร่วมเขียน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ฉบับที่ 9 (ค.ศ. 1875–1889) นั้นถือกันว่าโดดเด่นมากในด้านเนื้อหาวิชาการและโวหารสำนวน ครั้นบริษัทสัญชาติอเมริกันได้สิทธิจัดพิมพ์ไปตั้งแต่ฉบับที่ 11 (ค.ศ. 1911) ก็เกิดกระบวนการ "ทำให้เป็นอเมริกัน" (Americanizing) โดยย่อเนื้อหาลง และใช้ภาษาเรียบง่ายขึ้น เพื่อตีตลาดใน[[อเมริกาเหนือ]] พอถึง ค.ศ. 1933 สารานุกรมบริแทนนิกาก็กลายเป็นสารานุกรมแรกที่มีการชำระมาอย่างต่อเนื่องยาวนานที่สุด แต่แม้จะมีการตีพิมพ์ในสหรัฐมาตั้งแต่ฉบับที่ 10 (ค.ศ. 1901) แต่เนื้อหาส่วนใหญ่ยังรักษาการเขียนแบบบริติชไว้ มิได้เปลี่ยนไปใช้ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน
 
ฉบับที่ 15 (ค.ศ. 2010) เป็นฉบับพิเศษที่แบ่งเนื้อหาเป็น 3 ส่วน ส่วนแรกเรียก [[แมโครพีเดีย]] (Macropædia) มี 17 เล่ม เป็นบทความยาว กินเนื้อที่ตั้งแต่ 2 ถึง 310 หน้าต่อ 1 บทความ ส่วนถัดมาเรียก [[ไมโครพีเดีย]] (Micropædia) มี 12 เล่ม เป็นบทความสั้น โดยปรกติแล้วมีถ้อยคำไม่เกิน 750 คำต่อ 1 บทความ มีไว้ช่วยให้ตรวจสอบข้อมูลได้ไวขึ้น และไว้เป็นเครื่องช่วยนำทางในการอ่านแมโครพีเดีย และส่วนสุดท้ายเรียก [[พรอพีเดีย]] (Propædia) มีเล่มเดียว บรรจุคำอธิบายโครงสร้างของสารานุกรมแบบคร่าว ๆ
เส้น 23 ⟶ 29:
ต่อมาในเดือนมีนาคม ค.ศ. 2012 มีประกาศว่า จะเลิกตีพิมพ์สารานุกรมนี้เป็นเล่ม และจะมุ่งทำ[[สารานุกรมบริแทนนิกาออนไลน์|ฉบับออนไลน์]]แทน ฉบับสุดท้ายที่ตีพิมพ์เป็นเล่ม คือ ฉบับที่ 18 (ค.ศ. 2010) ซึ่งแบ่งเนื้อหาเป็น 32 เล่ม รวม 32,640 หน้า<ref>{{cite web|url=https://www.csmonitor.com/Business/Latest-News-Wires/2012/0314/Encyclopaedia-Britannica-After-244-years-in-print-only-digital-copies-sold|title=Encyclopaedia Britannica: After 244 years in print, only digital copies sold|last=Kearney|first=Christine|date=14 March 2012|website=The Christian Science Monitor|accessdate=31 May 2019}}</ref>
 
นับแต่ตีพิมพ์ครั้งแรกมาจนเลิกตีพิมพ์ เป็นเวลาได้ 244 ปี สารานุกรมบริแทนนิกาจึงเป็นสารานุกรมในภาษาอังกฤษที่ตีพิมพ์มายาวนานที่สุด</ref name = ":0"/>
 
== ประวัติ ==
บริแทนนิกาเปลี่ยนมือมาหลายต่อหลายครั้ง ผู้ที่เคยเป็นเจ้าของบริแทนนิกามาก่อนได้แก่ สำนักพิมพ์สัญชาติสกอต เช่น A & C Black, Horace Everett Hooper, Sears Roebuck and William Benton เป็นต้น เจ้าของบริแทนนิกาคนปัจจุบันคือ Jacqui Safra นักแสดงและมหาเศรษฐีชาวสวิส ซึ่งเป็นเจ้าของ Encyclopædia Britannica, Inc. จากความก้าวหน้าของ[[เทคโนโลยีสารสนเทศ]]ประกอบกับการเติบโตของสารานุกรมอิเล็กทรอนิกส์หลายแห่ง เช่น [[Microsoft Encarta]] และ [[วิกิพีเดีย]] ทำให้ความจำเป็นในการตีพิมพ์สารานุกรมลดน้อยลง<ref>{{cite web | url = http://news.bbc.co.uk/1/hi/business/40033.stm | title = Encyclopaedia Britannica changes to survive | last = Day | first = Peter | date = 17 December 1997 | publisher = BBC News | quote = Sales plummeted from 100,000 a year to just 20,000. | accessdate = 2007-03-27}}</ref> ดังนั้นเพื่อให้ดำรงความสามารถในการแข่งขันเอาไว้ Encyclopædia Britannica, Inc. จึงชูความน่าเชื่อถือของสารานุกรมบริแทนนิกาเป็นหลัก ลดราคาและลดต้นทุนการผลิตลง รวมถึงพัฒนาสารานุกรมในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์เพิ่มเติมบน[[ซีดีรอม]] [[ดีวีดี]] และ[[เวิลด์ไวด์เว็บ]] นับแต่ต้นคริสต์ทศวรรษ 1930 บริษัทยังเพิ่มการประชาสัมพันธ์งานอ้างอิงรูปแบบอื่น ๆ มากขึ้นด้วย
 
เส้น 32 ⟶ 38:
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
{{วิกิซอร์ซ|สารานุกรมบริตานิกา}}
{{คอมมอนส์-หมวดหมู่|Encyclopædia Britannica}}
{{วิกิข่าวภาษาอังกฤษ|Category:Encyclopaedia Britannica}}
 
* {{คอมมอนส์-หมวดหมู่-บรรทัด|Encyclopædia Britannica}}
; เว็บไซต์อย่างเป็นทางการ:
* [httphttps://www.britannica.com/ ''Encyclopædia Britannica'' Online] เว็บไซต์อย่างเป็นทางการ
* {{Internet Archive author |sname=Encyclopædia Britannica |sopt=w}}
* {{Librivox author |id=1721}}
* Scribner's 9th Edition (1878) [https://archive.org/search.php?query=title%3A%28britannica%29%20AND%20publisher%3A%28scribner%27s%29 archive.org]
 
{{Authority control}}
[[หมวดหมู่:สารานุกรมออนไลน์]]
{{โครงวรรณกรรม}}