ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ถนนสิรินธร"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Mr.BuriramCN (คุย | ส่วนร่วม)
 
(ไม่แสดง 42 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้ 21 คน)
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{กล่องข้อมูล ทางหลวงในประเทศไทย
'''ถนนสิรินธร''' ({{lang-en|Thanon Sirindhorn}}) ซึ่งบางส่วนมีฐานะเป็น '''ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 341 สายต่อทางของกรุงเทพมหานคร (แยกสะพานกรุงธนบุรี) - บรรจบทางหลวงพิเศษหมายเลข 338 (บางบำหรุ)''' เป็นเส้นทางการคมนาคมในท้องที่[[เขตบางพลัด]] [[กรุงเทพมหานคร]] ลักษณะเป็นถนนขนาด 6 ช่องทางจราจร กว้าง 40 เมตร มีระยะทางประมาณ 3 กิโลเมตร เริ่มจาก[[ถนนจรัญสนิทวงศ์]]ตัดกับ[[ถนนราชวิถี]]ที่สี่แยกบางพลัด ไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ข้ามคลองบางบำหรุ เมื่อผ่านซอยสิรินธร 2 (สมชายพัฒนา) จึงโค้งไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ จากนั้นตัดผ่านถนนรุ่งประชา ก่อนจะไปบรรจบกับ[[ถนนบรมราชชนนี]]ที่ทางแยกต่างระดับสิรินธร โดยตลอดสายยังถือเป็นเส้นแบ่งเขตการปกครองระหว่างแขวงบางพลัดกับแขวงบางบำหรุอีกด้วย
| หมายเลข = 341
| ชื่อ = ถนนสิรินธร
| ภาพ = ถนนสิรินธร.jpg
| แผนที่ =
| คำอธิบายแผนที่ =
| ความยาว-กม = 0.352
| length_notes = เป็นของกรมทางหลวง
| ทิศทางจุดa =
| ทิศทางจุดb =
| ต้นทาง =
| ปลายทาง =
| แยกสำคัญ =
| สร้าง =
| ทางหลวงเอเชีย ={{AH|123|T}}
}}


'''ถนนสิรินธร''' ({{lang-roman|Thanon Sirindhorn}}) ซึ่งบางส่วนมีฐานะเป็น '''ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 341 สายบางพลัด–บางบำหรุ''' เป็นเส้นทางการคมนาคมในท้องที่[[เขตบางพลัด]] [[กรุงเทพมหานคร]] ลักษณะเป็นถนนขนาด 6 ช่องทางจราจร กว้าง 40 เมตร มีระยะทางประมาณ 3 กิโลเมตร เริ่มจาก[[ถนนจรัญสนิทวงศ์]]ตัดกับ[[ถนนราชวิถี]]ที่ทางแยกบางพลัด ไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ข้ามคลองบางบำหรุ เมื่อผ่านซอยสิรินธร 2 (สมชายพัฒนา) จึงโค้งไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ จากนั้นตัดผ่านถนนรุ่งประชา ก่อนจะไปบรรจบกับ[[ถนนบรมราชชนนี]]ที่ทางแยกต่างระดับสิรินธร โดยตลอดสายยังถือเป็นเส้นแบ่งเขตการปกครองระหว่างแขวงบางพลัดกับแขวงบางบำหรุอีกด้วย
ถนนสิรินธรตัดขึ้นตามพระราชบัญญัติเวนคืนอสังหาริมทรัพย์เพื่อสร้างทางหลวงแผ่นดินสายแยกถนนจรัญสนิทวงศ์ (แยกสะพานกรุงธนฯ) - บรรจบทางหลวงพิเศษสายบางกอกน้อย-นครชัยศรี ในท้องที่[[เขตบางกอกน้อย]] กรุงเทพมหานคร [[พ.ศ. 2524]] จากนั้นจึงเริ่มก่อสร้างจนกระทั่งแล้วเสร็จเมื่อ[[พฤษภาคม|เดือนพฤษภาคม]] [[พ.ศ. 2527]]<ref name="พจนานุกรมวิสามานยนามไทย : วัด วัง ถนน สะพาน ป้อม.">กนกวลี ชูชัยยะ. '''พจนานุกรมวิสามานยนามไทย : วัด วัง ถนน สะพาน ป้อม.''' พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน, 2548, หน้า 388-389.</ref> [[กรมทางหลวง]]ได้กำหนดเป็นทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 341 แต่ปัจจุบันระยะทางส่วนใหญ่ของถนนสายนี้อยู่ในความดูแลของ[[สำนักการโยธา กรุงเทพมหานคร]] ส่วนระยะทางที่เหลืออีก 352 เมตร อยู่ในความดูแลของหมวดการทางตลิ่งชัน สำนักงานบำรุงทางธนบุรี (หน่วยงานของกรมทางหลวง)


ถนนสิรินธรตัดขึ้นตามพระราชบัญญัติเวนคืนอสังหาริมทรัพย์เพื่อสร้างทางหลวงแผ่นดินสายแยกถนนจรัญสนิทวงศ์ (แยกสะพานกรุงธนฯ)บรรจบทางหลวงพิเศษสายบางกอกน้อย-นครชัยศรี ในท้องที่[[เขตบางกอกน้อย]] กรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2524 จากนั้นจึงเริ่มก่อสร้างจนกระทั่งแล้วเสร็จเมื่อเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2527<ref name="พจนานุกรมวิสามานยนามไทย : วัด วัง ถนน สะพาน ป้อม.">กนกวลี ชูชัยยะ. '''พจนานุกรมวิสามานยนามไทย : วัด วัง ถนน สะพาน ป้อม.''' พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน, 2548, หน้า 388-389.</ref> [[กรมทางหลวง]]ได้กำหนดเป็นทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 341 แต่ปัจจุบันระยะทางส่วนใหญ่ของถนนสายนี้อยู่ในความดูแลของ[[สำนักการโยธา กรุงเทพมหานคร]] ส่วนระยะทางที่เหลืออีก 352 เมตร อยู่ในความดูแลของหมวดทางหลวงตลิ่งชัน แขวงทางหลวงธนบุรี (หน่วยงานของกรมทางหลวง)
ต่อมาเมื่อปี [[พ.ศ. 2534]] [[กระทรวงมหาดไทย]]ได้กราบบังคมทูลขอพระราชทานชื่อทางหลวงสายนี้เพื่อเป็นการเทิดพระเกียรติ[[สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี]] และ[[พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว]]ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ใช้ชื่อทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 341 ว่า '''ถนนสิรินธร''' ในวาระเดียวกับที่พระราชทานชื่อทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 338 ว่า "[[ถนนบรมราชชนนี]]"<ref name="พจนานุกรมวิสามานยนามไทย : วัด วัง ถนน สะพาน ป้อม." />


ต่อมาเมื่อปี พ.ศ. 2534 [[กระทรวงมหาดไทย]]ได้กราบบังคมทูลขอพระราชทานชื่อทางหลวงสายนี้เพื่อเป็นการเทิดพระเกียรติ[[สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี]] เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ 3 รอบ โดย[[พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร]] ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ใช้ชื่อทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 341 ว่า '''ถนนสิรินธร''' ในวาระเดียวกับที่พระราชทานชื่อทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 338 ว่า "[[ถนนบรมราชชนนี]]"<ref name="พจนานุกรมวิสามานยนามไทย : วัด วัง ถนน สะพาน ป้อม." />
==อ้างอิง==

== ทางแยกที่สำคัญ ==
{{ทางแยก/เริ่ม|ทิศทาง=บางพลัด–ต่างระดับสิรินธร |ประเภท=ทางหลวงแผ่นดิน|หมายเลข=341|ชื่อ = ถนนสิรินธร|width=auto}}
{{ทางแยก/ส่วน
| ประเภท = ถนน
| ชื่อ = ถนนสิรินธร
| ทิศทาง = {{AH|123|T}} (เขตกรุงเทพมหานครควบคุม)
}}
{{ทางแยก
| จังหวัด = กรุงเทพมหานคร
| pspan = 2
| กม. = 0+000
| ขนาด = 2
| ชื่อ = แยกบางพลัด
| จาก = [[ไฟล์:Seal Bangkok Metropolitan Admin (green).svg|20px|]][[ถนนราชวิถี (กรุงเทพมหานคร)|ถนนราชวิถี]]
}}
{{ทางแยก
| ต่อ = yes
| ซ้าย = [[ถนนจรัญสนิทวงศ์]] ไป แยกบรมราชชนนี
| ขวา = [[ถนนจรัญสนิทวงศ์]] ไป[[สะพานพระราม 7]]
}}
{{ทางแยก/ส่วน
| ประเภท = ทางหลวงแผ่นดิน
| หมายเลข = 341
| ทิศทาง= {{AH|123|T}} ถนนสิรินธร (บางพลัด-ต่างระดับสิรินธร)
}}
{{ทางแยก
| จังหวัด = กรุงเทพมหานคร
| pspan = 6
| กม. = 2+352
| จาก = [[ไฟล์:Seal Bangkok Metropolitan Admin (green).svg|20px|]][[ถนนสิรินธร]] (ในเขตควบคุมกรุงเทพมหานคร)
}}
{{ทางแยก
| กม. = 3+000
| ชื่อ = ต่างระดับสิรินธร
| ซ้าย = {{ป้ายทางหลวง|H|338}}{{AH|2|T}}{{AH|123|T}}[[ถนนบรมราชชนนี]] ไป[[สะพานสมเด็จพระปิ่นเกล้า]]
| ขวา = {{ป้ายทางหลวง|H|338}}{{AH|2|T}}{{AH|123|T}}[[ถนนบรมราชชนนี]] ไป{{ป้ายทางหลวง|MF|9}}[[ถนนกาญจนาภิเษก]],[[จังหวัดนครปฐม|นครปฐม]]
}}
{{ทางแยก/จบ}}

== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
{{รายการอ้างอิง}}


{{เรียงลำดับ|สิรินธร}}
{{เรียงลำดับ|สิรินธร}}
{{สร้างปี|2527}}
{{สร้างปี|2527}}
[[หมวดหมู่:ทางหลวงแผ่นดิน|341]]
[[หมวดหมู่:ทางหลวงแผ่นดินภาคกลาง|3-341]]
[[หมวดหมู่:ถนนในกรุงเทพมหานคร]]
[[หมวดหมู่:ถนนในกรุงเทพมหานคร]]
[[หมวดหมู่:ถนนในเขตบางพลัด]]
[[หมวดหมู่:ถนนในเขตบางพลัด]]
[[หมวดหมู่:สถานที่ที่ตั้งชื่อตามพระนามของสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ]]
[[หมวดหมู่:ทางหลวงตามหมายเลข|341]]
[[หมวดหมู่:ทางหลวงแผ่นดินภาคกลาง|341]]
[[หมวดหมู่:สถานที่ที่ตั้งชื่อตามพระนามของพระบรมวงศานุวงศ์ไทย ]]
{{โครงคมนาคม}}
{{โครงคมนาคม}}

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 23:53, 28 กุมภาพันธ์ 2567

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 341
ถนนสิรินธร
ถนนสิรินธร.jpg
ข้อมูลของเส้นทาง
ส่วนหนึ่งของ
ความยาว0.352 กิโลเมตร (0.219 ไมล์; 1,150 ฟุต)
เป็นของกรมทางหลวง
ตำแหน่งที่ตั้ง
ประเทศไทย
ระบบทางหลวง

ถนนสิรินธร (อักษรโรมัน: Thanon Sirindhorn) ซึ่งบางส่วนมีฐานะเป็น ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 341 สายบางพลัด–บางบำหรุ เป็นเส้นทางการคมนาคมในท้องที่เขตบางพลัด กรุงเทพมหานคร ลักษณะเป็นถนนขนาด 6 ช่องทางจราจร กว้าง 40 เมตร มีระยะทางประมาณ 3 กิโลเมตร เริ่มจากถนนจรัญสนิทวงศ์ตัดกับถนนราชวิถีที่ทางแยกบางพลัด ไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ข้ามคลองบางบำหรุ เมื่อผ่านซอยสิรินธร 2 (สมชายพัฒนา) จึงโค้งไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ จากนั้นตัดผ่านถนนรุ่งประชา ก่อนจะไปบรรจบกับถนนบรมราชชนนีที่ทางแยกต่างระดับสิรินธร โดยตลอดสายยังถือเป็นเส้นแบ่งเขตการปกครองระหว่างแขวงบางพลัดกับแขวงบางบำหรุอีกด้วย

ถนนสิรินธรตัดขึ้นตามพระราชบัญญัติเวนคืนอสังหาริมทรัพย์เพื่อสร้างทางหลวงแผ่นดินสายแยกถนนจรัญสนิทวงศ์ (แยกสะพานกรุงธนฯ)–บรรจบทางหลวงพิเศษสายบางกอกน้อย-นครชัยศรี ในท้องที่เขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2524 จากนั้นจึงเริ่มก่อสร้างจนกระทั่งแล้วเสร็จเมื่อเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2527[1] กรมทางหลวงได้กำหนดเป็นทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 341 แต่ปัจจุบันระยะทางส่วนใหญ่ของถนนสายนี้อยู่ในความดูแลของสำนักการโยธา กรุงเทพมหานคร ส่วนระยะทางที่เหลืออีก 352 เมตร อยู่ในความดูแลของหมวดทางหลวงตลิ่งชัน แขวงทางหลวงธนบุรี (หน่วยงานของกรมทางหลวง)

ต่อมาเมื่อปี พ.ศ. 2534 กระทรวงมหาดไทยได้กราบบังคมทูลขอพระราชทานชื่อทางหลวงสายนี้เพื่อเป็นการเทิดพระเกียรติสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ 3 รอบ โดยพระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ใช้ชื่อทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 341 ว่า ถนนสิรินธร ในวาระเดียวกับที่พระราชทานชื่อทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 338 ว่า "ถนนบรมราชชนนี"[1]

ทางแยกที่สำคัญ

[แก้]
รายชื่อทางแยกบน ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 341 (ถนนสิรินธร) ทิศทาง: บางพลัด–ต่างระดับสิรินธร
จังหวัด กม.ที่ ชื่อจุดตัด ซ้าย ขวา
ถนนสิรินธร (เขตกรุงเทพมหานครควบคุม)
กรุงเทพมหานคร 0+000 แยกบางพลัด เชื่อมต่อจาก: ถนนราชวิถี
ถนนจรัญสนิทวงศ์ ไป แยกบรมราชชนนี ถนนจรัญสนิทวงศ์ ไปสะพานพระราม 7
ถนนสิรินธร (บางพลัด-ต่างระดับสิรินธร)
กรุงเทพมหานคร 2+352 เชื่อมต่อจาก: ถนนสิรินธร (ในเขตควบคุมกรุงเทพมหานคร)
3+000 ต่างระดับสิรินธร ถนนบรมราชชนนี ไปสะพานสมเด็จพระปิ่นเกล้า ถนนบรมราชชนนี ไปถนนกาญจนาภิเษก,นครปฐม
      สะพาน              กำลังก่อสร้างหรือโครงการในอนาคต

อ้างอิง

[แก้]
  1. 1.0 1.1 กนกวลี ชูชัยยะ. พจนานุกรมวิสามานยนามไทย : วัด วัง ถนน สะพาน ป้อม. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน, 2548, หน้า 388-389.