ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โจโฉ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Muytfrc (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
 
(ไม่แสดง 45 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้ 16 คน)
บรรทัด 5: บรรทัด 5:
|image_size=
|image_size=
|caption= ภาพโจโฉจาก ''[[สมุดภาพไตรภูมิ (จีน)|สมุดภาพไตรภูมิ]]'' (三才圖會) ซึ่งเผยแพร่ในราชวงศ์หมิงเมื่อ ค.ศ. 1609
|caption= ภาพโจโฉจาก ''[[สมุดภาพไตรภูมิ (จีน)|สมุดภาพไตรภูมิ]]'' (三才圖會) ซึ่งเผยแพร่ในราชวงศ์หมิงเมื่อ ค.ศ. 1609
| succession2 = [[อัครมหาเสนาบดี (ประเทศจีน)|อัครมหาเสนาบดี]] (丞相 ''เฉิงเซี่ยง'')
|succession=[[อ๋อง]]แห่งวุยก๊ก (魏王)
|reign= ค.ศ. 216 – 15 มีนาคม ค.ศ. 220
|reign-type=รัชกาล
|predecessor=
|successor=[[โจผี]]
| succession1 = ก๋งแห่งวุยก๊ก (魏公)
| reign1 = ค.ศ. 213–216
| reign-type1 = วาระ
| succession2 = [[อัครมหาเสนาบดี (ประเทศจีน)|อัครมหาเสนาบดี]] (丞相)
|reign2=ค.ศ. 208 – 15 มีนาคม ค.ศ. 220
|reign2=ค.ศ. 208 – 15 มีนาคม ค.ศ. 220
| reign-type2 = วาระ
| reign-type2 = วาระ
บรรทัด 20: บรรทัด 12:
| predecessor2=
| predecessor2=
| successor2=[[โจผี]]
| successor2=[[โจผี]]
| succession3 = เจ้ากรมโยธา (司空)
| succession3 = [[ซานกง|เจ้ากรมโยธา]] (司空 ''ซือคง'')
| reign3 = ค.ศ. 196–208
| reign3 = ค.ศ. 196–208
| reign-type3 = วาระ
| reign-type3 = วาระ
| regent3 = [[พระเจ้าเหี้ยนเต้]]

| reg-type3 = จักรพรรดิ
|birth_date=ค.ศ. 155
| birth_date = ค.ศ. 155
|birth_place=[[ปั๋วโจว]] (亳州) <br> [[มณฑลอานฮุย]] [[ประเทศจีน]]
| birth_place = [[ปั๋วโจว|อำเภอเฉียว]] [[รัฐเพ่ย์]] [[จักรวรรดิฮั่น]]
|death_date= 15 มีนาคม ค.ศ. 220 (65 ปี)
| death_date = 15 มีนาคม ค.ศ. 220 (64–65 ปี)
|death_place=[[ลกเอี๋ยง|ลั่วหยาง]] (洛阳) <br> [[มณฑลเหอหนาน]] [[ประเทศจีน]]
| death_place= [[ลั่วหยาง]] [[จักรวรรดิฮั่น]]
|place of burial= [[สุสานหลวงของโจโฉ|สุสานหลวง]]
| place of burial = [[สุสานหลวงของโจโฉ]]
|spouse={{bulleted list| นางติง (丁氏) | [[เปียนซี|นางเปี้ยน]] (卞氏) | นางหลิว (劉氏) <br> และอื่น ๆ}}
| date of burial = 11 เมษายน ค.ศ. 220
|issue= {{bulleted list| [[โจงั่ง|เฉา อ๋าง]]/โจงั่ง (曹昂) | [[โจผี|เฉา พี]]/โจผี (曹丕) | [[โจเจียง|เฉา จาง]]/โจเจียง (曹彰) | [[โจสิด|เฉา จื๋อ]]/โจสิด (曹植) | [[Cao Xiong|เฉา สฺยง]] (曹熊) | [[Cao Yu (Three Kingdoms)|เฉา อฺวี่]] (曹宇) | [[โจฉอง|เฉา ชง]]/โจฉอง (曹沖) | [[โจเฮา|เฉา เจี๋ย]]/โจเฮา (曹節) <br> และอื่น ๆ}}
| spouse={{bulleted list|ติงชื่อ|[[เปียนซี]]|[[เล่าซี]]<br> และอื่น ๆ}}
|issue-link =
|issue= {{bulleted list|[[โจงั่ง]]|[[โจผี]]|[[โจเจียง]]|[[โจสิด]]|[[โจหิม]]| [[โจฮู]]|[[เฉา ชง]]|[[โจเฮา]]<br> และอื่น ๆ}}
|issue-link =โจผี https://th.m.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%82%E0%B8%88%E0%B8%9C%E0%B8%B5
|issue-pipe =
|issue-pipe =
|full name= '''[[ชื่อสกุล]]:''' เฉา/โจ (曹) <br/> '''[[ชื่อตัว]]:''' เชา/โฉ (操) <br/> '''[[Courtesy name|ชื่อรอง]]''': เมิ่งเต๋อ (孟德)<br/> '''[[ชื่อเล่น]]''': อาหมาน (阿瞞), จี๋ลี่ (吉利)
|full name= '''[[ชื่อสกุล]]:''' เฉา/โจ (曹) <br/> '''[[ชื่อตัว]]:''' เชา/โฉ (操) <br/> '''[[Courtesy name|ชื่อรอง]]''': เมิ่งเต๋อ (孟德)<br/> '''[[ชื่อเล่น]]''': อาหมาน (阿瞞), จี๋ลี่ (吉利)
|era name=
|era name=
|era dates=
|era dates=
|posthumous name= {{unbulleted list
|พระสมัญญานาม= {{unbulleted list
| พระเจ้าอู่ (武王)
| พระเจ้าอู่ (武王)
| จักรพรรดิอู่ (武帝)}}
| จักรพรรดิอู่ (武帝)}}
|temple name= ไท่จู่ (太祖)
| พระอารามนาม = ไท่จู่ (太祖)
| father = [[โจโก๋]]
|house=
| mother = ติงชื่อ
|father=[[โจโก๋|เฉา ซง]]/โจโก๋ (曹嵩)
| religion = [[ลัทธิขงจื๊อ]]
|mother=
|birth_style=พระราชสมภพ
}}
}}


'''เฉา เชา''' ตาม[[ภาษาจีนมาตรฐาน|สำเนียงมาตรฐาน]] หรือ '''โจโฉ''' ตาม[[ภาษาจีนฮกเกี้ยน|สำเนียงฮกเกี้ยน]] ({{zh-all|t=曹操|s=曹操|p=Cáo Cāo|w=Ts'ao² Ts'ao¹}}; ค.ศ. 155&nbsp;– 15 มีนาคม ค.ศ. 220)<ref>{{cite book|author=de Crespigny, Rafe|title=A biographical dictionary of Later Han to the Three Kingdoms (23–220 AD)|publisher=Brill|year=2007|isbn=978-90-04-15605-0|pages=35, 38}}</ref> ชื่อรองว่า '''เมิ่งเต๋อ''' (孟德) ชื่อเล่นว่า '''อาหมาน''' (阿瞞) และ '''จี๋ลี่''' (吉利)<ref name="Jili and A'man">(太祖一名吉利,小字阿瞞。) Pei Songzhi. Annotations to Chen Shou's ''Records of the Three Kingdoms'', Volume 1, Biography of Cao Cao.</ref> เป็นขุนศึก รัฐบุรุษ และกวีชาวจีน เป็น[[อัครมหาเสนาบดี (ประเทศจีน)|อัครมหาเสนาบดี]]คนรองสุดท้ายแห่ง[[ราชวงศ์ฮั่นตะวันออก]]ซึ่งเถลิงอำนาจใน[[ปลายราชวงศ์ฮั่น]] และในฐานะที่เป็นบุคคลสำคัญคนหนึ่งใน[[ยุคสามก๊ก]] โจโฉได้วางรากฐานให้แก่[[วุยก๊ก]]ในกาลต่อมา วรรณกรรมสมัยหลังมักพรรณาว่า โจโฉเป็นทรราชโหดร้ายไร้เมตตา แต่โจโฉก็ได้รับการยกย่องว่า เป็นผู้ปกครองที่เปรื่องปราด เป็นอัจฉริยบุคคลด้านการทหาร มีบารมีหาที่เปรียบมิได้ ปฏิบัติต่อผู้ใต้บัญชาดุจครอบครัวของตัว{{cn|date=April 2021}}
'''โจโฉ''' ใน[[ภาษาฮกเกี้ยน]] ({{zh|c=曹操|poj=Chô Chhò}}) หรือ '''เฉา เชา''' ใน[[ภาษาจีนกลาง]] ({{zh|p={{audio|Cao Cao.ogg|Cáo Cāo}}}}; ค.ศ. 155 – 15 มีนาคม ค.ศ. 220)<ref>{{cite book|author=de Crespigny, Rafe|title=A biographical dictionary of Later Han to the Three Kingdoms (23–220 AD)|publisher=Brill|year=2007|isbn=978-90-04-15605-0|pages=35, 38}}</ref> มี[[ชื่อรอง]]ว่า '''เมิ่งเต๋อ''' ({{zh|c=孟德|p=Mèng dé}}) เป็นรัฐบุรุษ ขุนศึก และกวีชาวจีน เป็น[[อัครมหาเสนาบดี (ประเทศจีน)|อัครมหาเสนาบดี]]แห่ง[[ราชวงศ์ฮั่นตะวันออก]] ซึ่งได้เถลิงอำนาจในช่วง[[ปลายราชวงศ์ฮั่น]] ในฐานะที่เป็นบุคคลสำคัญคนหนึ่งใน[[ยุคสามก๊ก]] โจโฉได้วางรากฐานซึ่งได้ทำให้เกิดรัฐ[[วุยก๊ก]]ขึ้นในเวลาต่อมา และได้รับการยกย่องภายหลังมรณกรรมในฐานะเป็น "จักรพรรดิอู่แห่งวุยก๊ก" แม้ว่าเขาจะไม่เคยประกาศตนเองอย่างเป็นทางการว่าเป็น[[จักรพรรดิจีน]] หรือ[[โอรสสวรรค์]] วรรณกรรมสมัยหลังมักพรรณาว่า โจโฉเป็นทรราชโหดร้ายไร้เมตตา แต่โจโฉก็ได้รับการยกย่องว่า เป็นผู้ปกครองที่ปราดเปรื่อง เป็นอัจฉริยบุคคลด้านการทหาร มีบารมีหาที่เปรียบมิได้ ปฏิบัติต่อผู้ใต้บัญชาดุจครอบครัวของตัว{{cn|date=April 2021}}


ในช่วงที่ราชวงศ์ฮั่นตะวันออกล่มสลาย โจโฉสามารถควบคุมท้องที่ส่วนใหญ่ในภาคเหนือของจีนซึ่งมีประชากรมากที่สุด ทั้งยังฟื้นฟูความเรียบร้อยและเศรษฐกิจเป็นผลสำเร็จในฐานะอัครมหาเสนาบดี แต่การที่โจโฉเชิด[[พระเจ้าเหี้ยนเต้]]นั้น โดยตนเองบัญชาราชการแผ่นดินเบ็ดเสร็จอยู่เบื้องหลังพระองค์นั้น ถูกวิพากษ์วิจารณ์หนัก การต่อต้านโดยตรงนั้นมาจากขุนศึก[[เล่าปี่]]กับ[[ซุนกวน]]ซึ่งโจโฉมิอาจปราบลงได้
ในช่วงที่ราชวงศ์ฮั่นตะวันออกล่มสลาย โจโฉสามารถควบคุมท้องที่ส่วนใหญ่ในภาคเหนือของจีนซึ่งมีประชากรมากที่สุด ทั้งยังฟื้นฟูความเรียบร้อยและเศรษฐกิจเป็นผลสำเร็จในฐานะอัครมหาเสนาบดี แต่การที่โจโฉเชิด[[พระเจ้าเหี้ยนเต้]]นั้น โดยตนเองบัญชาราชการแผ่นดินเบ็ดเสร็จอยู่เบื้องหลังพระองค์นั้น ถูกวิพากษ์วิจารณ์หนัก การต่อต้านโดยตรงนั้นมาจากขุนศึก[[เล่าปี่]]กับ[[ซุนกวน]]ซึ่งโจโฉมิอาจปราบลงได้
บรรทัด 51: บรรทัด 46:
โจโฉยังมีความสามารถด้าน[[กวีนืพนธ์จีน|กวีนิพนธ์]] [[อักษรวิจิตรจีน|อักษรวิจิตร]] และ[[ศิลปะการต่อสู้แบบจีน|ศิลปะการต่อสู้]] ทั้งได้ฝากงานเขียนมากมายในด้านการทหารเอาไว้ ซึ่งรวมถึงอรรถาธิบาย ''[[ซุนจื่อปิงฝ่า]]'' โจโฉยังเป็นที่จดจำในฐานะผู้ปกครองที่โดดเด่นที่สุดคนหนึ่งของจักรวรรดิจีน
โจโฉยังมีความสามารถด้าน[[กวีนืพนธ์จีน|กวีนิพนธ์]] [[อักษรวิจิตรจีน|อักษรวิจิตร]] และ[[ศิลปะการต่อสู้แบบจีน|ศิลปะการต่อสู้]] ทั้งได้ฝากงานเขียนมากมายในด้านการทหารเอาไว้ ซึ่งรวมถึงอรรถาธิบาย ''[[ซุนจื่อปิงฝ่า]]'' โจโฉยังเป็นที่จดจำในฐานะผู้ปกครองที่โดดเด่นที่สุดคนหนึ่งของจักรวรรดิจีน


== พระราชประวัติ ==
== ประวัติ ==


=== ช่วงชีวิตตอนต้น ===
=== ช่วงชีวิตตอนต้น ===
เฉาเชาประสูติในเฉียว [[ราชรัฐแห่งเพ่ย์]](ปัจจุบันคือ บูโจว [[มณฑลอานฮุย]]) ในปี ค.ศ. 155 มีพระบิดานามว่า [[โจโก๋|เฉาซง]](โจโก๋) เป็น[[บุตรบุญธรรม]]ของ[[โจเท้ง|เฉาเถิง]](โจเท้ง) ผู้ซึ่งกลายเป็น[[ขันที]]คนโปรดของ[[จักรพรรดิฮั่นหฺวัน]] ในบันทึกประวัติศาสตร์บางรายการ รวมทั้งชีวประวัติของเฉา หม่าน ได้อ้างว่า ชื่อตระกูลแต่เดิมของเฉาซงคือ เซี่ยโหว(แฮหัว) และเขาเป็นญาติของ[[แฮหัวตุ้น|เซี่ยโหวตุน]](แฮหัวตุ้น)
โจโฉเกิดที่เจากุ๋น (เฉียวเซี่ยน) ราชรัฐ[[ไพก๊ก]] (''เพ่ย์กํ๋ว''; ปัจจุบันคือเมืองปั๋วโจว [[มณฑลอานฮุย]]) ในปี ค.ศ. 155<ref name="auto">de Crespigny (2010), p. 35</ref> บิดาของโจโฉคือ[[โจโก๋]] (''เฉา ซง'') เป็น[[บุตรบุญธรรม]]ของ[[โจเท้ง]] (''เฉา เถิง'') ผู้ซึ่งกลายเป็น[[ขันที]]คนโปรดของ[[จักรพรรดิฮั่นหฺวัน|พระเจ้าฮวนเต้]] (ฮั่นหฺวันตี้) ในบางบันทึกประวัติศาสตร์ รวมถึง''ชีวประวัติเฉาหมัน'' (''เฉาหมันจฺวั้น'') อ้างว่า ชื่อตระกูลแต่เดิมของโจโก๋คือแฮหัว (''เซี่ยโหว'') และเขาเป็นญาติของ[[แฮหัวตุ้น]] (''เซี่ยโหว ตุน'')


เชาเป็นที่รู้จักกันในเรื่องของความเจ้าเล่ห์เพทุบายของเขาในช่วงวัยหนุ่ม ตามชีวประวัติของเฉา หม่านได้กล่าวว่า ลุงของเชามักจะฟ้องกับเฉาซงว่า เฉาเชาชอบออกไปเที่ยวล่าสัตว์และเล่นดนตรีกับ[[อ้วนเสี้ยว|หยวนเซ่า]](อ้วนเสี้ยว) สหายของเขา จนถูกบิดาต่อว่า เพื่อเป็นการแก้เผ็ด เฉาเชาจึงแสร้งทำเป็นลมชักต่อหน้าลุงของเขา จนต้องรีบแจ้นไปตามเฉาซง เมื่อเฉาซงรีบมาหาบุตรชายของตน เฉาเชาก็ทำตัวตามปกติ เมื่อถูกบิดาถาม เฉาเชาได้บอกว่า "ข้าไม่ได้เป็นอะไรสักหน่อย แต่ท่านลุงคงจะเกลียดข้าที่มักจะชอบนำเรื่องของข้าไปบอกท่านอยู่เรื่อยเลย" หลังจากนั้นเฉาซงก็ไม่สนใจพี่ชายที่มาฟ้องเรื่องของเฉาเชาอีกเลย และด้วยเหตุนี้ เฉาเชาจึงกลายเป็นคนโอ้อวดและยืนกรานในการงานที่ดื้อดึงของเขา
โจโฉเป็นที่รู้จักกันในเรื่องของความเจ้าเล่ห์เพทุบายของเขาในช่วงวัยหนุ่ม ตาม''ชีวประวัติเฉาหมัน''ได้กล่าวว่า อาของโจโฉมักจะฟ้องกับโจโก๋ว่า โจโฉชอบออกไปเที่ยวล่าสัตว์และเล่นดนตรีกับ[[อ้วนเสี้ยว]] (ยฺเหวียน เช่า) สหายของเขา จนถูกบิดาต่อว่า เพื่อเป็นการแก้เผ็ด โจโฉจึงแสร้งทำเป็นลมชักต่อหน้าอาของเขา จนต้องรีบแจ้นไปตามโจโก๋ เมื่อโจโก๋รีบมาหาบุตรชายของตน โจโฉก็ทำตัวตามปกติ เมื่อถูกบิดาถาม โจโฉบอกว่า "ข้าไม่ได้เป็นอะไรสักหน่อย แต่ท่านอาคงจะเกลียดข้าที่มักจะชอบนำเรื่องของข้าไปบอกท่านอยู่เรื่อยเลย" หลังจากนั้นโจโก๋ก็ไม่สนใจน้องชายที่มาฟ้องเรื่องของโจโฉอีกเลย และด้วยเหตุนี้ โจโฉจึงกลายเป็นคนโอ้อวดและยืนกรานในการงานที่ดื้อดึงของเขา


ในช่วงเวลานั้น มีชายชราผู้หนึ่งที่มีนามว่า สฺวี่เช่า([[เขาเฉียว]]) ซึ่งอาศัยอยู่ในหรู่หนาน และมีชื่อเสียงจากความสามารถของเขาทางด้านศาสตร์โหงวเฮ้งคือการมองลักษณะบนใบหน้าของบุคคลเพื่อประเมินศักยภาพและพรสวรรค์ของบุคคลคนนั้น เฉาเชาได้ไปเยี่ยมเขาด้วยความคาดหวังว่าจะได้รับการดูโหงวเฮ้งของตนเพื่อประเมินความสามารถที่จะช่วยเหลือในอาชีพการเมือง ในตอนแรก สฺวี่เช่า ปฏิเสธที่บอกกล่าว อย่างไรก็ตาม ก็ถูกซักถามอย่างไม่ลดละ จนในที่สุดเขาก็ยอมบอกว่า "ในยามสงบสุข ท่านจะเป็นขุนนางที่มีความสามารถมาก ในยามกลียุค ท่านจะเป็นบุรุษที่มีความโหดเหี้ยมไร้เมตตา" เฉาเชาก็หัวเราะชอบใจและเดินจากไป ความคิดเห็นเหล่านี้มีสองแบบในบันทึกทางประวัติศาสตร์ฉบับอื่น ๆ ที่ไม่เป็นทางการ
ในช่วงเวลานั้น มีชายผู้หนึ่งนามว่า[[เขาเฉียว]] (''สฺวี่ เช่า'') ชาวเมืองยีหลำ (''หรู่หนาน'') มีชื่อเสียงจากความสามารถของเขาทางด้านศาสตร์โหงวเฮ้งคือการมองลักษณะบนใบหน้าของบุคคลเพื่อประเมินศักยภาพและพรสวรรค์ของบุคคลคนนั้น โจโฉได้ไปเยี่ยมเขาด้วยความคาดหวังว่าจะได้รับการดูโหงวเฮ้งของตนเพื่อประเมินความสามารถที่จะช่วยเหลือในอาชีพการเมือง ในตอนแรกเขาเฉียวปฏิเสธที่บอกกล่าว อย่างไรก็ตาม ก็ถูกซักถามอย่างไม่ลดละ จนในที่สุดเขาก็ยอมบอกว่า "ในยามสงบสุข ท่านจะเป็นขุนนางที่มีความสามารถมาก ในยามกลียุค ท่านจะเป็นบุรุษที่มีความโหดเหี้ยมไร้เมตตา"<ref>(治世之能臣,乱世之奸雄。) ตันซิ่ว. ''จดหมายเหตุสามก๊ก'', เล่ม 1, ชีวประวัติโจโฉ.</ref> โจโฉก็หัวเราะชอบใจและเดินจากไป ความคิดเห็นเหล่านี้มีสองแบบในบันทึกทางประวัติศาสตร์ฉบับอื่น ๆ ที่ไม่เป็นทางการ


=== อาชีพช่วงแรกและกบฏโพกผ้าเหลือง(ค.ศ. 175-188) ===
=== การรับราชการช่วงต้นและกบฏโพกผ้าเหลือง (ค.ศ. 175-188) ===
เมื่ออายุได้ 20 ปี เฉาเชาได้รับการแต่งตั้งให้เป็นหัวหน้ากองทหารรักษานครในลั่วหยาง ในช่วงที่รับตำแหน่ง เขาได้นำเสาหลากสีมาปักไว้ด้านนอกสำนักงานของเขา และออกคำสั่งให้เจ้าหน้าที่ลงโทษเฆี่ยนตีผู้ละเมิดกฎหมายโดยไม่คำนึงถึงยศตำแหน่งฐานะใด ๆ ลุงของ[[เกียนสิด|เจี่ยนชั่ว]](เกียนสิด) หนึ่งในขันทีที่ทรงอิทธิพลและมีอำนาจมากที่สุดภายใต้อำนาจของ[[จักรพรรดิฮั่นหลิง]] ถูกจับกุมเพราะเดินเตร่ในเมืองซึ่งเป็นช่วงห้ามออกนอกจากเคหสถานตอนกลางคืนโดยทหารของเฉาเชาและถูกโบยเฆี่ยนตี สิ่งนี้ได้ทำให้เจี่ยนชั่วและผู้มีอำนาจระดับสูงคนอื่น ๆ รีบส่งเสริมให้เฉาเชาได้เข้ารับตำแหน่งเป็นผู้ว่าราชการแห่งมณฑลตุ้นฉิว ในขณะที่ได้ทำการย้ายเขาออกจากเมืองหลวง เฉาเชายังคงอยู่ในตำแหน่งนี้มานานกว่าหนึ่งปี จนกระทั่งถูกปลดออกจากตำแหน่งใน ค.ศ. 178 เนื่องจากครอบครัวของเขาที่อยู่ห่างไกลมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับ[[จักรพรรดินีซ่ง]] พระมเหสีคนแรกของจักรพรรดิฮั่นหลิงซึ่งเป็นที่เสื่อมเสียพระเกียรติ ราวปี ค.ศ. 180 เฉาเชาได้กลับมายังราชสำนักในฐานะกุนซือ(議郎) และนำเสนอบันทึกสองฉบับเพื่อต่อต้านอิทธิพลของขันทีในราชสำนักและการทุจริตในการปกครองในช่วงที่เขาดำรงตำแหน่ง โดยมีผลที่จำกัด
เมื่ออายุได้ 20 ปี โจโฉได้รับการแต่งตั้งให้เป็นหัวหน้ากองทหารรักษานครในลกเอี๋ยง (''ลั่วหยัง'') ในช่วงที่รับตำแหน่ง เขาได้นำกระบองหลากสีมาปักไว้ด้านนอกสำนักงานของเขา และออกคำสั่งให้เจ้าหน้าที่ลงโทษเฆี่ยนตีผู้ละเมิดกฎหมายโดยไม่คำนึงถึงยศตำแหน่งฐานะใด ๆ ลุงของ[[เกียนสิด]] (''เจี่ยน ชั่ว'') หนึ่งในขันทีที่ทรงอิทธิพลและมีอำนาจมากที่สุดภายใต้อำนาจของ[[พระเจ้าเลนเต้]] (''หลิงตี้'') ถูกจับกุมเพราะเดินเตร่ในเมืองซึ่งเป็นช่วงห้ามออกนอกจากเคหสถานตอนกลางคืนโดยทหารของโจโฉและถูกโบยเฆี่ยนตี สิ่งนี้ได้ทำให้เกียนสิดและผู้มีอำนาจระดับสูงคนอื่น ๆ รีบส่งเสริมให้โจโฉได้เข้ารับตำแหน่งเป็นผู้ว่าราชการแห่งอำเภอตุนขิว (''ตุ้นชิว'') ในขณะที่ได้ทำการย้ายเขาออกจากเมืองหลวง โจโฉยังคงอยู่ในตำแหน่งนี้มานานกว่าหนึ่งปี จนกระทั่งถูกปลดออกจากตำแหน่งใน ค.ศ. 178 เนื่องจากครอบครัวของเขาที่อยู่ห่างไกลมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับ[[จักรพรรดินีซ่ง]] พระมเหสีคนแรกของพระเจ้าเลนเต้ซึ่งเป็นที่เสื่อมเสียพระเกียรติ ราวปี ค.ศ. 180 โจโฉได้กลับมายังราชสำนักในฐานะที่ปรึกษา (議郎) และนำเสนอบันทึกสองฉบับเพื่อต่อต้านอิทธิพลของขันทีในราชสำนักและการทุจริตในการปกครองในช่วงที่เขาดำรงตำแหน่ง โดยมีผลที่จำกัด


เมื่อ[[กบฏโพกผ้าเหลือง]]ได้เกิดขึ้นในปี ค.ศ. 184 เฉาเชาได้ถูกเรียกตัวกลับมาที่ลั่วหยางและแต่งตั้งให้เป็นแม่ทัพคุมทหารม้า(騎都尉) และถูกส่งไปยัง Yingchuan ในยูโจว(แคว้นอิจิ๋ว) เพื่อเข้าปราบปรามพวกกบฏ เขาได้ประสบความสำเร็จและถูกส่งไปยังจิหน่านในฐานะเสนาบดี(相) เพื่อขัดขวางการขยายอิทธิพลของกลุ่มโจรโพกผ้าเหลือที่นั่น ในจิหน่าน เฉาเชาได้ประกาศบังคับสั่งห้ามลัทธินอกรีตอย่างจริงจัง ทำลายศาลเจ้า และให้การสนับสนุนแก่รัฐที่นับถือลัทธิขงจื๊อ เขาถูกครอบครัวชั้นนำในท้องถิ่นไม่พอใจในกระบวนการนี้ และลาออกเนื่องจากสุขภาพที่ย่ำแย่ในราวปี ค.ศ. 187 ด้วยความกลัวว่าเขาจะทำให้ครอบครัวต้องตกอยู่ในอันตราย เขาได้รับเสนอตำแหน่งเป็นผู้ว่าราชการแห่งจังหวัดต่ง(東郡) แต่เขาได้ปฏิเสธและเดินทางกลับบ้านของเขาใน[[เทศมณฑลเพ่ย์|อำเภอเพ่ย์]] ในช่วงเวลานั้น Wang Fen (王芬) ได้พยายามชักชวนเฉาเชาให้เข้าร่วมในการก่อรัฐประหารเพื่อแย่งชิงราชบัลลังก์ของจักรพรรดิฮั่นหลิง โดยผลตอบแทนคือจะแต่งตั้งตำแหน่งยศศักดิ์ให้เป็น เหอเฟยโหว แต่เฉาเชาปฏิเสธ แผนลับได้ล้มเหลวและ Wang Fen ก็ต้องปลิดชีพตัวเขาเอง
เมื่อ[[กบฏโพกผ้าเหลือง]]ก่อการในปี ค.ศ. 184 โจโฉได้ถูกเรียกตัวกลับมาที่ลกเอี๋ยงและแต่งตั้งให้เป็นนายกองทหารม้า (騎都尉 ''ฉีตูเว่ย์'') และถูกส่งไปยังเมืองเองฉวน (''อิ่งชวน'') ในมณฑลอิจิ๋ว (''อวี้โจว'') เพื่อเข้าปราบปรามพวกกบฏ โจโฉประสบความสำเร็จในการปราบกบฏและถูกส่งไปเป็นเสนาบดี (相 ''เซียง'') ของราชรัฐเจลำ (''จี่หนัน'') เพื่อขัดขวางการขยายอิทธิพลของกลุ่มโจรโพกผ้าเหลือที่นั่น ที่เจลำ โจโฉได้ประกาศบังคับสั่งห้ามลัทธินอกรีตอย่างจริงจัง ทำลายศาลเจ้า และให้การสนับสนุนลัทธิขงจื๊อ โจโฉถูกตระกูลชั้นนำในท้องถิ่นไม่พอใจในการกระทำดังกล่าว จึงลาออกโดยอ้างว่าป่วยในราวปี ค.ศ. 187 ด้วยความกลัวว่าจะทำให้ครอบครัวต้องตกอยู่ในอันตราย โจโฉได้รับเสนอตำแหน่งเป็นเจ้าเมืองแห่งเมืองตงกุ๋น (東郡 ''ตงจฺวิ้น'') แต่โจโฉปฏิเสธและเดินทางกลับบ้านที่ไพก๊ก ในช่วงเวลานั้น หวัง เฟิน (王芬) ได้พยายามชักชวนโจโฉให้เข้าร่วมในการก่อรัฐประหารเพื่อแย่งชิงราชบัลลังก์ของพระเจ้าเลนเต้ โดยผลตอบแทนคือจะแต่งตั้งตำแหน่งยศศักดิ์ให้เป็นเหอเฟยโหฺว แต่โจโฉปฏิเสธ แผนลับได้ล้มเหลวและหวัง เฟินก็ต้องปลิดชีพตนเอง


=== แนวร่วมพันธมิตรต่อต้านตั๋งโต๊ะ(ค.ศ. 189-191) ===
=== แนวร่วมพันธมิตรต่อต้านตั๋งโต๊ะ (ค.ศ. 189-191) ===
{{Main|การทัพปราบตั๋งโต๊ะ}}
{{Main|การทัพปราบตั๋งโต๊ะ}}
{| class="wikitable" style="margin:5px; float:right; width:20%;"
{| class="wikitable" style="margin:5px; float:right; width:20%;"
|-
|-
!colspan=2|สรุปเหตุการณ์ที่สำคัญในช่วงชีวิตของเฉาเชา
!colspan=2|สรุปเหตุการณ์ที่สำคัญในช่วงชีวิตของโจโฉ
|-
|-
| ค.ศ. 155
| ค.ศ. 155
| เกิดในเฉียว
| เกิดที่อำเภอเจากุ๋น
|-
|-
| 180s
| 180s
| นำกองทหารเข้าปราบปราม[[กบฏโพกผ้าเหลือง]]ที่ [[Yuzhou (nine ancient provinces)|Yingchuan]].
| นำกองทหารเข้าปราบปราม[[กบฏโพกผ้าเหลือง]]ที่เมือง[[เองฉวน]]
|-
|-
| 190
| 190
บรรทัด 81: บรรทัด 76:
|-
|-
| 196
| 196
| ได้นำ[[พระเจ้าเหี้ยนเต้|จักรพรรดิฮั่นเซี่ยน]]มาประทับใน[[สฺวี่ชาง|นครสวี่]].
| รับเสด็จ[[พระเจ้าเหี้ยนเต้]]มาประทับที่[[สฺวี่ชาง|นครฮูโต๋]]
|-
|-
| 200
| 200
| เอาชนะใน[[ยุทธการที่กัวต๋อ]].
| เอาชนะใน[[ยุทธการที่กัวต๋อ]]
|-
|-
| 208
| 208
| พ่ายแพ้ใน[[ยุทธการที่ผาแดง]].
| พ่ายแพ้ใน[[ยุทธการที่ผาแดง]]
|-
|-
| 213
| 213
| ได้รับสถาปนาเป็นวุยก๋ง และได้รับพระราชทานสิบเมืองให้ปกครอง.
| ได้รับสถาปนาเป็นวุยก๋ง และได้รับพระราชทานสิบเมืองให้ปกครอง
|-
|-
| 216
| 216
| ได้รับตำแหน่งยศศักดิ์เป็น วุยอ๋อง
| ได้รับตำแหน่งยศศักดิ์เป็นวุยอ๋อง
|-
|-
| 220
| 220
| เสียชีวิตใน[[ลั่วหยาง]].
| เสียชีวิตใน[[ลกเอี๋ยง]]
|-
|-
| —
| —
| ได้รับพระราชสมัญญานามภายหลังมรกรรมในฐานะจักรพรรดิอู่.
| ได้รับพระราชสมัญญานามภายหลังมรกรรมในฐานะจักรพรรดิอู่
|}
|}


ภายหลังจากออกจากราชการเป็นเวลาสิบแปดเดือน เฉาเชาได้กลับมายังเมืองหลวงลั่วหยางในปี ค.ศ. 188 ปีนั้น เขาได้รับการแต่งตั้งเป็นขุนพลเอกซึ่งเป็นผู้จัดตั้งกองทัพ(典軍校尉) หัวหน้าที่สี่ในแปดของ[[กองทัพแห่งราชอุทยานตะวันตก]] ซึ่งเป็นกองทัพจักรวรรดิที่เพิ่งจัดตั้งขึ้นมาใหม่ ประสิทธิภาพของกองทัพใหม่นี้ไม่เคยถูกทำการทดสอบ เนื่องจากได้ถูกยุบยกเลิกไปในปีถัดมา
ภายหลังจากออกจากราชการเป็นเวลาสิบแปดเดือน โจโฉได้กลับมายังเมืองหลวงลกเอี๋ยงในปี ค.ศ. 188 ปีนั้น ได้รับการแต่งตั้งเป็นนายกองผู้จัดการทัพ (典軍校尉 ''เตี่ยวจวินเซี่ยวเว่ยย์'') หัวหน้าที่สี่ในแปดของ[[กองทัพแห่งราชอุทยานตะวันตก]] ซึ่งเป็นกองทัพจักรวรรดิที่เพิ่งจัดตั้งขึ้นมาใหม่ ประสิทธิภาพของกองทัพใหม่นี้ไม่เคยถูกทำการทดสอบ เนื่องจากได้ถูกยุบยกเลิกไปในปีถัดมา


ในปี ค.ศ. 189 [[จักรพรรดิฮั่นหลิง]]ทรงสวรรคตและถูกสืบทอดราชบัลลังก์โดยพระราชองค์องค์โต([[หองจูเปียน|จักรพรรดิฮั่นเช่า]]) แม้ว่าอำนาจรัฐส่วนใหญ่จะถูกควบคุมโดย[[โฮเฮา|จักรพรรดินีเหอ]]และที่ปรึกษาของพระนาง พระเชษฐาของจักรพรรดินีเหอ แม่ทัพใหญ่นามว่า [[โฮจิ๋น|เหอจิ้น]](โฮจิ๋น) ได้วางแผนร่วมกับ[[อ้วนเสี้ยว|หยวนเซ่า]](อ้วนเสี้ยว) ในการกำจัด[[สิบขันที]](กลุ่มขันทีที่มีอิทธิพลในราชสำนัก) เหอจิ้นได้เรียก[[ตั๋งโต๊ะ|ต่งจั่ว]](ตั๋งโต๊ะ) ขุนพลที่ช่ำชองของมณฑลเหลียงให้นำกองทัพเข้าสู่ลั่วหยางเพื่อกดดันจักรพรรดินีเหอให้มอบอำนาจ ด้วยข้อกล่าวหาที่อาจหาญของ "ความชั่วช้า" ของต่ง แต่ก่อนที่ต่งจั่วจะเดินทางมาถึง เหอจิ้นก็ถูกลอบสังหารโดยขันทีและลั่วหยางตกอยู่ในท่ามกลางความโกลาหล ในขณะที่การต่อสู้กับขันทีภายใต้การสนับสนุนของหยวนเซ่า กองทัพของต่งจั่วได้กำจัดฝ่ายค้านภายในบริเวณพระราชวังอย่างง่ายดาย ภายหลังจากที่เขาได้ปลดจักรพรรดิฮั่นเช่าลงจากราชบัลลังก์ ต่งจั่วได้สถาปนาให้[[พระเจ้าเหี้ยนเต้|จักรพรรดิฮั่นเซี่ยน]]ขึ้นครองราชบัลลังก์ในฐานะหุ่นเชิด เนื่องจากเขามองว่า จักรพรรดิฮั่นเซี่ยนมีความสามารถและชาญฉลาดมากกว่าจักรพรรดิฮั่นเช่า
ในปี ค.ศ. 189 [[พระเจ้าเลนเต้]]สวรรคตและพระราชบุตรองค์โต ([[หองจูเปียน|จักรพรรดิฮั่นเช่า]]) สืบทอดราชบัลลังก์ แม้ว่าอำนาจรัฐส่วนใหญ่จะถูกควบคุมโดย[[โฮเฮา]]และที่ปรึกษาของพระนาง พี่ชายของโฮเฮาและแม่ทัพใหญ่นามว่า [[โฮจิ๋น]](''เหอจิ้น'') ได้วางแผนร่วมกับ[[อ้วนเสี้ยว]] ในการกำจัด[[สิบขันที]] (กลุ่มขันทีที่มีอิทธิพลในราชสำนัก) โฮจิ๋นได้เรียก[[ตั๋งโต๊ะ]] (''ต่งจั๋ว'') ขุนพลที่ช่ำชองของมณฑลเลียงจิ๋ว (''เหลียงโจว'') ให้นำกองทัพเข้าสู่ลกเอี๋ยงเพื่อกดดันโฮเฮาให้มอบอำนาจ ด้วยข้อกล่าวหาที่อาจหาญของ "ความชั่วช้า" ของตั๋งโต๊ะ แต่ก่อนที่ตั๋งโต๊ะจะเดินทางมาถึง โฮจิ๋นก็ถูกลอบสังหารโดยขันทีและลกเอี๋ยงตกอยู่ในท่ามกลางความโกลาหล ในขณะที่การต่อสู้กับขันทีภายใต้การสนับสนุนของอ้วนเสี้ยว กองทัพของตั๋งโต๊ะได้กำจัดฝ่ายค้านภายในบริเวณพระราชวังอย่างง่ายดาย ภายหลังจากที่เขาได้ปลดจักรพรรดิฮั่นเช่าลงจากราชบัลลังก์ ต่งจั่วได้สถาปนาให้[[พระเจ้าเหี้ยนเต้]] (''ฮั่นเซี่ยนตี้'') ขึ้นครองราชบัลลังก์ในฐานะหุ่นเชิด เนื่องจากเขามองว่า พระเจ้าเหี้ยนเต้มีความสามารถและชาญฉลาดมากกว่าจักรพรรดิฮั่นเช่า


ภายหลังจากได้ปฏิเสธข้อเสนอในการแต่งตั้งของต่งจั่ว เฉาเชาได้ออกจากลั่วหยางมายังเฉินหลิว (ทางตะวันออกของไคเฟิง มณฑลเหอหนานในยุคปัจจุบัน ซึ่งเป็นบ้านเกิดของเฉาเชา) ซึ่งเขาได้จัดตั้งกองทัพขึ้นมา ในปีต่อมา เหล่าขุนศึกภูมิภาคได้ก่อตั้งพันธมิตรทางทหารภายใต้การนำโดยหยวนเซ่าเพื่อต่อต้านต่งจั่ว เฉาเชาได้เข้าร่วมด้วย กลายเป็นหนึ่งในสมาชิกเพียงไม่กี่คนที่ร่วมต่อสู้อย่างแข็งขันของแนวร่วมพันธมิตร แม้ว่าเหล่าขุนศึกจะเข้าปลดปล่อยเมืองหลวงลั่วหยางได้แล้ว ราชสำนักของต่งจั่วได้อพยพไปยังตะวันตกสู่[[ฉางอัน]]ที่เป็นเมืองหลวงเก่า โดยพาจักรพรรดิฮั่นเซี่ยนเสด็จไปด้วย แนวร่วมพันธมิตรได้ล่มสลายภายหลังจากปราศจากความเคลื่อนไหวมาเป็นเวลาหลายเดือน และจีนได้เข้าสู่สงครามกลางเมือง ในขณะที่ต่งจั่วถูกสังหารโดย[[ลิโป้|ลฺหวี่ ปู้]] (ลิโป้) ใน ค.ศ. 192
ภายหลังจากได้ปฏิเสธข้อเสนอในการแต่งตั้งของตั๋งโต๊ะ โจโฉได้ออกจากลกเอี๋ยงมายังตันลิว (''เฉินหลิว'' ทางตะวันออกของไคเฟิง มณฑลเหอหนานในยุคปัจจุบัน ซึ่งเป็นบ้านเกิดของโจโฉ) ซึ่งเขาได้จัดตั้งกองทัพขึ้นมา ในปีต่อมา เหล่าขุนศึกภูมิภาคได้ก่อตั้งพันธมิตรทางทหารภายใต้การนำโดยอ้วนเสี้ยวเพื่อต่อต้านตั๋งโต๊ะ โจโฉได้เข้าร่วมด้วย กลายเป็นหนึ่งในสมาชิกเพียงไม่กี่คนที่ร่วมต่อสู้อย่างแข็งขันของแนวร่วมพันธมิตร แม้ว่าเหล่าขุนศึกจะเข้าปลดปล่อยเมืองหลวงลกเอี๋ยงได้แล้ว ราชสำนักของตั๋งโต๊ะได้อพยพไปยังตะวันตกสู่[[ฉางอัน|เตียงฮัน]] (''ฉางอัน'') ที่เป็นเมืองหลวงเก่า โดยพาพระเจ้าเหี้ยนเต้เสด็จไปด้วย แนวร่วมพันธมิตรได้ล่มสลายภายหลังจากปราศจากความเคลื่อนไหวมาเป็นเวลาหลายเดือน และจีนได้เข้าสู่สงครามกลางเมือง ในขณะที่ตั๋งโต๊ะถูกสังหารโดย[[ลิโป้]] (ลฺหวี่ ปู้) ใน ค.ศ. 192


== ขยายดินแดน(ค.ศ. 191-199) ==
== ขยายดินแดน(ค.ศ. 191-199) ==
[[ไฟล์:End of Han Dynasty Warlords.png|thumb|450px|แผนที่ได้แสดงให้เห็นถึงขุนศึกคนสำคัญของราชวงศ์ฮั่นในช่วงต้น ค.ศ. 190 รวมทั้งเฉาเชา]]
[[ไฟล์:End of Han Dynasty Warlords.png|thumb|450px|แผนที่ได้แสดงให้เห็นถึงขุนศึกคนสำคัญของราชวงศ์ฮั่นในช่วงต้น ค.ศ. 190 รวมทั้งเฉาเชา]]
=== การพิชิตเมืองกุนจิ๋ว(ค.ศ. 191-195) ===
=== การพิชิตมณฑลกุนจิ๋ว (ค.ศ. 191-195) ===
แม้ว่าจะผ่านสงครามระยะสั้นและระดับภูมิภาค เฉาเชายังคงขยายอำนาจของเขา ใน ค.ศ. 191 เฉาเชาได้รับการแต่งตั้งให้เป็นผู้ว่าราชการจังหวัดของจังหวัดต่ง(ต่งจุน) ในเฉินหลิว สิ่งนี้ได้เกิดขึ้นภายหลังจากที่เขาได้ประสบความสำเร็จในการปราบหัวหน้าโจรนามว่า Bo Rao และหยวนเซ่าได้แต่งตั้งให้เขาเป็นผู้ว่าราชการจังหวัดเข้ามาแทนที่ Wang Hong ซึ่งไร้ประสิทธิภาพ เขาได้ขจัดซ่องโจร และเมื่อผู้ตรวจการมณฑลของหยันโจว(กุนจิ๋ว) หลิว ต้าย ได้เสียชีวิตลงในปีต่อไป เขาได้รับเชิญจาก[[เปาสิ้น]]และเจ้าหน้าที่คนอื่น ๆ ให้เป็นผู้ว่าราชการมณฑลของหยันโจว และจัดการกับการก่อการกำเริบของโจกโพกผ้าเหลืองในชิงโจวซึ่งได้เข้าโจมตีหยัน แม้ว่าจะพบความปราชัยหลายครั้ง เฉาเชาก็สามารถปราบกบฏได้ภายในสิ้นปี ค.ศ. 192 โดยผ่านทางการเจรจากับพวกเขา และได้รับทหารเพิ่มเติมจำนวนสามหมื่นนายเข้าสู่กองทัพ ในช่วงต้นปี ค.ศ. 193 เฉาเชาและหยวนเซ่าได้ต่อสู่รบกับหยวนซู่ ผู้เป็นลูกพี่ลูกน้องรุ่นหลังในการรบหลายครั้ง เช่น ที่เฟิ่งชิว ซึ่งได้ขับไล่เขาไปที่แม่น้ำห้วย
โจโฉยังคงขยายอำนาจของตนโดยการทำสงครามระยะสั้นและระดับภูมิภาค ใน ค.ศ. 191 โจโฉได้รับการแต่งตั้งให้เป็นเจ้าเมืองของเมืองตองกุ๋น (''ตงจวิ้น'') ในตันลิว สิ่งนี้ได้เกิดขึ้นภายหลังจากที่เขาได้ประสบความสำเร็จในการปราบหัวหน้าโจรนามว่า ไป๋ เร่า และอ้วนเสี้ยวได้แต่งตั้งให้โจโฉเป็นเจ้าเมืองเข้ามาแทนที่หวัง หง ซึ่งไร้ความสามารถ เขาได้ขจัดซ่องโจร และเมื่อข้าหลวงมณฑลของ[[กุนจิ๋ว]] (''เหยี่ยนโจว'') [[เล่าต้าย]] (''หลิว ไต้'') ได้เสียชีวิตลงในปีถัดมา โจโฉได้รับเชิญจาก[[เปาสิ้น]]และเจ้าหน้าที่คนอื่น ๆ ให้เป็นเจ้ามณฑลของกุนจิ่ว และจัดการกับการก่อการกำเริบของโจกโพกผ้าเหลืองในเฉงจิ๋ว (''ชิงโจว'') ซึ่งเข้าโจมตีกุนจิ๋ว แม้ว่าจะพบความปราชัยหลายครั้ง โจโฉก็สามารถปราบกบฏได้ภายในสิ้นปี ค.ศ. 192 โดยผ่านทางการเจรจากับพวกเขา และได้รับทหารเพิ่มเติมจำนวนสามหมื่นนายเข้าสู่กองทัพ ในช่วงต้นปี ค.ศ. 193 โจโฉและอ้วนเสี้ยวรบกับ[[อ้วนสุด]] (''ยฺเหวียน ซู่'') ผู้เป็นลูกพี่ลูกน้องของอ้วนเสี้ยวในการรบหลายครั้ง เช่น ที่เฟิงชิว ซึ่งได้ขับไล่เขาไปที่แม่น้ำห้วย


เฉาซง บิดาของเฉาเชาถูกสังหารในช่วงฤดูใบไม้ร่วง ค.ศ. 193 โดย[[เตียวคี]]ทหารของ[[โตเกี๋ยม|เถาเฉียน]](โตเกี๋ยม) ผู้ว่าราชการมณฑลแห่งซูโจว(ชีจิ๋ว)(ได้กล่าวอ้างว่าเป็นผู้บริสุทธิ์ และผู้สังหารเฉาซงเป็นอดีตโจรโพกผ้าเหลือง) ด้วยความโกรธแค้น เฉาเชาได้ทำการสังหารหมู่พลเรือนหลายพันคนในซูโจวในช่วงการทัพลงทัณฑ์สองครั้งใน ค.ศ. 193 และ ค.ศ. 194 เพื่อล้างแค้นให้กับบิดาของเขา เนื่องจากเขาได้นำกองทัพของเขาจำนวนมากมาย มายังซูโจวเพื่อเอาชนะเถาเฉียน ดินแดนส่วนใหญ่ของเขาจึงไร้การป้องกัน เจ้าหน้าที่นายทหารที่ไม่พอใจจำนวนหนึ่งนำโดย[[ตันก๋ง|เฉิน กง]](ตันก๋ง) และ Zhang Chao (เตียวเจี๋ยว) ได้ร่วมมือวางแผนก่อกบฏ พวกเขาได้โน้มน้าวให้ Zhang Miao([[เตียวเมา]])(พี่ชายของ Zhang Chao) ขึ้นมาเป็นผู้นำของพวกเขาและขอให้ลฺหวี่ ปู้เข้ามาเป็นการเสริมกำลัง เฉิน กงได้เชิญลฺหวี่ ปู้ให้มาเป็นผู้ตรวจการมณฑลคนใหม่แห่งหยันโจว [[ลิโป้|ลฺหวี่ ปู้]]ได้ตอบรับคำเชิญนี้และนำกองกำลังทหารเข้าไปในมณฑล นับตั้งแต่กองทัพเฉาเชาไม่อยู่ ผู้บัญชาการท้องถิ่นหลายคนต่างคิดว่าการต่อสู้รบครั้งนี้จะต้องพ่ายแพ้และยอมจำนนต่อลฺหวี่ ปู้ทันทีเมื่อเขาเดินทางมาถึง แต่อย่างไรก็ตาม มีเพียงสามมณฑล ได้แก่ Juancheng, Dong'a, และ Fan ยังคงจงรักภักดีต่อเฉาเชา เมื่อเฉาเชาเดินทางกลับมาถึง เขาได้รวบรวมกองกำลังของเขาไว้ที่ Juancheng
[[โจโก๋]] (''เฉา ซง'') บิดาของเฉาเชาถูกสังหารในช่วงฤดูใบไม้ร่วง ค.ศ. 193 โดย[[เตียวคี]] (''จาง ไข่'') ทหารของ[[โตเกี๋ยม]](''เถา เชียน'') เจ้ามณฑลแห่ง[[ชีจิ๋ว]] (''สฺวีโจว'') (ผู้อ้างว่าตนบริสุทธิ์ และผู้สังหารโจโก๋นั้นเดิมเป็นโจร) ด้วยความโกรธแค้น โจโฉได้ทำการสังหารหมู่พลเรือนหลายพันคนในชีจิ๋วในช่วงการทัพลงทัณฑ์สองครั้งใน ค.ศ. 193 และ ค.ศ. 194 เพื่อล้างแค้นให้กับบิดาของเขา เนื่องจากเขาได้นำกองทัพของเขาจำนวนมากมาย มายังชีจิ๋วเพื่อเอาชนะโตเกี๋ยม ดินแดนส่วนใหญ่ของเขาจึงไร้การป้องกัน เจ้าหน้าที่นายทหารที่ไม่พอใจจำนวนหนึ่งนำโดย[[ตันก๋ง]] (เฉิน กง) และเตียวเถียว (''จาง เชา'') ได้ร่วมมือวางแผนก่อกบฏ พวกเขาได้โน้มน้าวให้[[เตียวเมา]] (''จาง เหมี่ยว''; พี่ชายของเตียวเถียว) ขึ้นมาเป็นผู้นำของพวกตนและขอให้ลิโป้เข้ามาเป็นการเสริมกำลัง ตันก๋งเชิญลิโป้ให้มาเป็นข้าหลวงมณฑลคนใหม่แห่งกุนจิ๋ว ลิโป้ได้ตอบรับคำเชิญนี้และนำกองกำลังทหารเข้าไปในมณฑล นับตั้งแต่กองทัพโจโฉไม่อยู่ ผู้บัญชาการท้องถิ่นหลายคนต่างคิดว่าการต่อสู้รบครั้งนี้จะต้องพ่ายแพ้และยอมจำนนต่อลิโป้ทันทีเมื่อเขาเดินทางมาถึง แต่อย่างไรก็ตาม มีเพียงสามอำเภอ ได้แก่ เอียนเสีย (''เจวี้ยนเฉิง'') ตองไฮ (''ตงอา'') และฮวนกวน (''ฟ่านเซี่ยน'') ยังคงจงรักภักดีต่อโจโฉ เมื่อโจโฉเดินทางกลับมาถึง เขาได้รวบรวมกองกำลังของเขาไว้ที่เอียนเสีย


ตลอดช่วงปี ค.ศ. 194 และ ค.ศ. 195 เฉาเชาและลฺหวี่ ปู้ได้ต่อสู้รบกันหลายครั้งเพื่อแย่งชิงการควบคุมหยันโจว แม้ว่าในตอนแรก ลฺหวี่ ปู้จะทำได้ดีในถือครองผู่หยาง เฉาเชาก็เอาชนะเกือบทั้งหมดด้านนอกของผู่หยาง ชัยชนะที่เด็ดขาดของเฉาเชาเกิดขึ้นในการรบใกล้กับตงหมิง ลฺหวี่ ปู้และเฉิน กงได้นำกองทัพขนาดใหญ่เข้าโจมตีกองทัพของเฉาเชา ในช่วงเวลานั้น เฉาเชาก็ได้ออกไปพร้อมกองกำลังขนาดเล็กเพื่อเก็บเกี่ยวข้าว เมื่อเห็นลฺหวี่ ปู้และเฉิน กงเข้ามาใกล้ เฉาเชาก็ได้ซ่อนกองกำลังของเขาไว้ในป่าและแนวหลังเขื่อน จากนั้นเขาก็ส่งกองกำลังขนาดเล็กเข้าไปประจัญหน้ากับกองทัพของลฺหวี่ ปู้ เมื่อกองกำลังทั้งสองได้รับมอบหมาย เขาได้ออกคำสั่งให้กองกำลังทหารที่ซ่อนตัวอยู่ให้เข้าโจมตีทันที กองทัพของลฺหวี่ ปู้ถูกทำลายล้างจากการโจมตีครั้งนี้และทหารของเขาจำนวนมากได้หลบหนีไป
ตลอดช่วงปี ค.ศ. 194 และ ค.ศ. 195 โจโฉและลิโป้ได้ต่อสู้รบกันหลายครั้งเพื่อแย่งชิงการควบคุมกุนจิ๋ว แม้ว่าในตอนแรกลิโป้จะทำได้ดีในถือครองปักเอี้ยง (''ผู่หยาง'') โจโฉก็เอาชนะเกือบทั้งหมดด้านนอกของปักเอี้ยง ชัยชนะที่เด็ดขาดของโจโฉเกิดขึ้นในการรบใกล้กับตงหมิง ลิโป้และตันก๋งได้นำกองทัพขนาดใหญ่เข้าโจมตีกองทัพของโจโฉ ในช่วงเวลานั้น โจโฉก็ได้ออกไปพร้อมกองกำลังขนาดเล็กเพื่อเก็บเกี่ยวข้าว เมื่อเห็นลิโป้และตันก๋งเข้ามาใกล้ โจโฉก็ได้ซ่อนกองกำลังของเขาไว้ในป่าและแนวหลังเขื่อน จากนั้นเขาก็ส่งกองกำลังขนาดเล็กเข้าไปประจัญหน้ากับกองทัพของลิโป้ เมื่อกองกำลังทั้งสองได้รับมอบหมาย เขาได้ออกคำสั่งให้กองกำลังทหารที่ซ่อนตัวอยู่ให้เข้าโจมตีทันที กองทัพของลิโป้ถูกทำลายล้างจากการโจมตีครั้งนี้และทหารของเขาจำนวนมากได้หลบหนีไป


ลฺหวี่ ปู้และเฉิน กงต่างหลบหนีออกจากการสู้รบครั้งนั้น เนื่องจากซูโจวในตอนนี้ได้อยู่ภายใต้บัญชาการของ[[หลิว เป้ย์]](เล่าปี่) และหลิว เป้ย์เคยเป็นศัตรูของเฉาเชามาก่อน พวกเขาจึงได้มาหลบหนีไปยังซูโจวเพื่อความปลอดภัย เฉาเชาตัดสินใจที่จะไม่ไล่ล่าตามหาพวกเขา แต่กลับไปริเริ่มกวาดล้างผู้จงรักภักดีของลฺหวี่ ปู้ในหยันโจว รวมทั้งการเข้ายึดครองดินแดนเหล่านั้น สิบแปดเดือนหลังการก่อกบฏได้เริ่มต้นขึ้น เชาได้สังหาร Zhang Miao และทำลายล้างตระกูลของเขาและเข้ายึดครองหยันโจวกลับคืนมาภายในช่วงปลายปี ค.ศ. 195
ลิโป้และตันก๋งต่างหลบหนีออกจากการสู้รบครั้งนั้น เนื่องจากชีจิ๋วในตอนนี้ได้อยู่ภายใต้บัญชาการของ[[เล่าปี่]] (''หลิว เป้ย'') และเล่าปี่เคยเป็นศัตรูของโจโฉมาก่อน พวกเขาจึงได้มาหลบหนีไปยังชีจิ๋วเพื่อความปลอดภัย โจโฉตัดสินใจที่จะไม่ไล่ล่าตามหาพวกเขา แต่กลับไปริเริ่มกวาดล้างผู้จงรักภักดีของลิโป้ในกุนจิ๋ว รวมทั้งการเข้ายึดครองดินแดนเหล่านั้น สิบแปดเดือนหลังการก่อกบฏได้เริ่มต้นขึ้น โจโฉได้ปราบเตียวเมาและครอบครัว และเข้ายึดครองกุนจิ๋วกลับคืนมาภายในช่วงปลายปี ค.ศ. 195


=== ช่วยเหลือจักรพรรดิ(ค.ศ. 196) ===
=== ช่วยเหลือจักรพรรดิ (ค.ศ. 196) ===
เฉาเชาได้ย้ายกองบัญชาการของเขาในช่วงต้น ค.ศ. 196 จาก ผู่หยาง ไปยังนครสฺวี่(許, ปัจจุบันคือ [[สฺวี่ชาง]]) ซึ่งเขาได้สร้างดินแดนอาณานิคมเกษตรกรรมทางทหารสำหรับการตั้งถิ่นฐานของผู้อพยพและจัดหาเสบียงอาหารมาให้แก่กองทัพของเขา
โจโฉได้ย้ายกองบัญชาการของเขาในช่วงต้น ค.ศ. 196 จากปักเอี้ยงไปยังนครฮูโต๋ (許 ''สฺวี่'', ปัจจุบันคือ [[สฺวี่ชาง]]) ซึ่งเขาได้สร้างดินแดนอาณานิคมเกษตรกรรมทางทหารสำหรับการตั้งถิ่นฐานของผู้อพยพและจัดหาเสบียงอาหารมาให้แก่กองทัพของเขา


ราวประมาณเดือนสิงหาคม ค.ศ. 196 จักรพรรดิฮั่นเซี่ยนได้เสด็จกลับสู่ลั่วหยางภายใต้การคุ้มกันของ Yang Feng(เอียวฮอง) และ Dong Cheng ([[ตังสิน]]) เฉาเชาได้เข้าเฝ้าจักรพรรดิฮั่นเซี่ยนในช่วงฤดูใบไม้ร่วง ค.ศ. 196 และโน้มน้าวให้พระองค์ย้ายเมืองหลวงไปยังนครสฺวี่ตามคำแนะนำของ Xun Yu ([[ซุนฮก]]) และที่ปรึกษาคนอื่น ๆ เนื่องจากนครลั่วหยางได้ถูกทำลายเสียหายโดยสงครามและฉางอันไม่ได้อยู่ภายใต้การควบคุมทางทหารของเฉา เขาได้รับการแต่งตั้งเป็น รัฐมนตรีโยธาธิการ (ภายหลังจากได้เจรจากับหยวนเซ่า ผู้บังคับบัญชาในนามของเขา) และเจ้ากรมข้าทาสบริวาร(司隸 Sīlì), ได้รับพระราชอำนาจในเพียงนามในการควบคุมมณฑล Sili นอกจากนี้เขายังได้รับตำแหน่งแม่ทัพใหญ่ (大將軍) และหวู่ผิงโหว (武平侯) แม้ว่าทั้งสองตำแหน่งยศศักดิ์นี้ได้ถูกนำไปใช้จริงได้เพียงเล็กน้อย ในขณะที่บางคนได้มองว่า จักรพรรดิเป็นหุ่นเชิดภายใต้การควบคุมของเฉาเชา แต่เชาได้ยึดมั่นตามกฏเกณฑ์ส่วนบุคคลที่เข้มงวดจนกระทั่งเขาเสียชีวิต ซึ่งเป็นที่แน่ชัดแล้วว่าเขาไม่ได้ต้องการแย่งชิงราชบัลลังก์ เมื่อ[[ที่ปรึกษา]]ของเขาได้กระซิบมาบอกเขาว่า ให้โค่นล้มราชวงศ์ฮั่นและเริ่มต้นราชวงศ์ใหม่ด้วยตัวท่านเอง แต่เขาได้ตอบกลับว่า "หากฟ้าสวรรค์ได้มอบชะตาลิขิตเช่นนี้ให้กับข้า ข้าขอเป็นแบบอย่าง[[พระเจ้าโจวเหวิน]]ก็พอ"
ราวประมาณเดือนสิงหาคม ค.ศ. 196 พระเจ้าเหี้ยนเต้เสด็จกลับสู่ลกเอี๋ยงภายใต้การคุ้มกันของ[[เอียวฮอง]]และ [[ตังสิน]] โจโฉเข้าเฝ้าพระเจ้าเหี้ยนเต้ในช่วงฤดูใบไม้ร่วง ค.ศ. 196 และโน้มน้าวให้พระองค์ย้ายเมืองหลวงไปยังนครฮูโต๋ตามคำแนะนำของ [[ซุนฮก]]และที่ปรึกษาคนอื่น ๆ เนื่องจากนครลกเอี๋ยงได้ถูกทำลายเสียหายโดยสงครามและเตียงฮันไม่ได้อยู่ภายใต้การควบคุมทางทหารของโจโฉ เขาได้รับการแต่งตั้งเป็น เจ้ากรมโยธา (ภายหลังจากได้เจรจากับอ้วนเสี้ยว ผู้บังคับบัญชาในนามของเขา) และเจ้ากรมการไพร่ (司隸 ''ซือลี่'') ได้รับพระราชอำนาจในเพียงนามในการควบคุมมณฑลราชธานี (''ซือลี่'') นอกจากนี้ โจโฉยังได้รับตำแหน่งแม่ทัพใหญ่ (大將軍 ''ต้าเจียงจฺวิน'') และยศขุนนางเป็น อู่ผิงโหฺว (武平侯) แม้ว่าทั้งสองตำแหน่งยศศักดิ์นี้ได้ถูกนำไปใช้จริงได้เพียงเล็กน้อย ในขณะที่บางคนได้มองว่า จักรพรรดิเป็นหุ่นเชิดภายใต้การควบคุมของโจโฉ แต่โจโฉได้ยึดมั่นตามกฏเกณฑ์ส่วนบุคคลที่เข้มงวดจนกระทั่งเขาเสียชีวิต ซึ่งเป็นที่แน่ชัดแล้วว่าเขาไม่ได้ต้องการแย่งชิงราชบัลลังก์ เมื่อ[[ที่ปรึกษา]]ของเขาได้กระซิบมาบอกเขาว่า ให้โค่นล้มราชวงศ์ฮั่นและเริ่มต้นราชวงศ์ใหม่ด้วยตัวท่านเอง แต่เขาได้ตอบกลับว่า "หากฟ้าสวรรค์ได้มอบชะตาลิขิตเช่นนี้ให้กับข้า ข้าขอเป็นแบบอย่าง[[โจฺวเหวินหวัง|จิวบุนอ๋อง]] (''โจฺวเหวินหวัง'') ก็พอ"


เพื่อรักษาความสัมพันธ์ที่ดีกับหยวนเซ่า ซึ่งกลายเป็นขุนศึกที่ทรงอำนาจมากที่สุดใน[[แผ่นดินจีน]] เมื่อเขาได้รวบรวมสี่มณฑลทางตอนเหนือของจีนเข้าด้วยกัน เฉาเชาได้พยายามเจรจาเกลี้ยมกล่อมว่าจะแต่งตั้งให้หยวนเป็นรัฐมนตรีโยธาธิการ อย่างไรก็ตาม สิ่งนี้ได้ส่งผลตรงกันข้าม เนื่องจากหยวนเซ่าเชื่อว่าเฉาเชาต้องการที่จะทำให้ตนได้รับความอับอาย เนื่องจากตำแหน่งรัฐมนตรีโยธาธิการนั้นเป็นตำแหน่งที่ต่ำกว่าแม่ทัพใหญ่ที่เฉาเชาดำรงตำแหน่งอยู่ ดังนั้นจึงปฏิเสธข้อเสนอในการรับตำแหน่งนี้ เพื่อเป็นการปลอบใจแก่หยวนเซ่า เฉาเชาได้เสนอตำแหน่งของตนเองให้กับเขา ในขณะที่เขาจะดำรงตำแหน่งเป็นรัฐมนตรีโยธาธิการเอง แม้ว่าสิ่งนี้จะแก้ไขข้อขัดแย้งได้ชั่วคราว แต่ก็เป็นตัวเร่งกระตุ้นก่อให้เกิด[[ยุทธการที่กัวต๋อ|การรบที่กัวต๋อ]]ในเวลาต่อมา
เพื่อรักษาความสัมพันธ์ที่ดีกับอ้วนเสี้ยว ซึ่งกลายเป็นขุนศึกที่ทรงอำนาจมากที่สุดใน[[แผ่นดินจีน]] เมื่อเขาได้รวบรวมสี่มณฑลทางตอนเหนือของจีนเข้าด้วยกัน โจโฉพยายามเจรจาเกลี้ยมกล่อมว่าจะแต่งตั้งให้อ้วนเสี้ยวเป็นรัฐมนตรีโยธาธิการ อย่างไรก็ตาม สิ่งนี้ได้ส่งผลตรงกันข้าม เนื่องจากอ้วนเสี้ยวเชื่อว่าโจโฉต้องการที่จะทำให้ตนได้รับความอับอาย เนื่องจากตำแหน่งรัฐมนตรีโยธาธิการนั้นเป็นตำแหน่งที่ต่ำกว่าแม่ทัพใหญ่ที่โจโฉดำรงตำแหน่งอยู่ ดังนั้นจึงปฏิเสธข้อเสนอในการรับตำแหน่งนี้ เพื่อเป็นการปลอบใจแก่อ้วนเสี้ยว โจโฉได้เสนอตำแหน่งของตนเองให้กับเขา ในขณะที่เขาจะดำรงตำแหน่งเป็นรัฐมนตรีโยธาธิการเอง แม้ว่าสิ่งนี้จะแก้ไขข้อขัดแย้งได้ชั่วคราว แต่ก็เป็นตัวเร่งกระตุ้นก่อให้เกิด[[ยุทธการที่กัวต๋อ]]ในเวลาต่อมา


=== การต่อสู้รบกับเตียวสิ้ว อ้วนสุด และลิโป้(ค.ศ. 197-198) ===
=== การต่อสู้รบกับเตียวสิ้ว อ้วนสุด และลิโป้ (ค.ศ. 197-198) ===
[[เล่าเปียว|หลิว เปียว]](เล่าเปียว) เป็นขุมอำนาจในสมัยนั้น ซึ่งครองมณฑลจิงโจว(เกงจิ๋ว)เอาไว้ทั้งหมด จิโจวมีความเจริญรุ่งเรืองมาโดยตลอด แต่ที่เติบโตขึ้นมาได้เพราะมีผู้อพยพจำนวนมากที่ลี้ภัยจากสงครามทางเหนือและอพยพลงทางใต้ ดังนั้นหลิวเปียวจึงถือว่าเป็นภัยคุกคามต่อเฉาเชา [[เตียวสิ้ว|จางสิ้ว]](เตียวสิ้ว) ซึ่งบัญชาการในดินแดนของหลิวเปียวบนชายแดนติดกับอาณาเขตของเฉาเชา ดังนั้นเฉาเชาต้องการที่จะโจมตีเขา ในช่วงต้นปี ค.ศ. 197 จางสิ้วได้ยอมสวามิภักดิ์ต่อเฉาเชา แต่กลับเข้าโจมตีค่ายทหารของเฉาเชาในตอนกลางคืน([[การศึกระหว่างโจโฉและเตียวสิ้ว|ยุทธการที่ว่านเฉิง]]) ซึ่งได้คร่าชีวิตทหารจำนวนมาก รวมทั้ง Cao Ang ([[โจงั่ง]]) บุตรชายของเฉาเชา และเฉาเชาจึงต้องหลบหนีไป
[[เล่าเปียว]]เป็นขุมอำนาจในสมัยนั้น ซึ่งครองมณฑล[[เกงจิ๋ว]]เอาไว้ทั้งหมด เกจิ๋วมีความเจริญรุ่งเรืองมาโดยตลอด แต่ที่เติบโตขึ้นมาได้เพราะมีผู้อพยพจำนวนมากที่ลี้ภัยจากสงครามทางเหนือและอพยพลงทางใต้ ดังนั้นเล่าเปียวจึงถือว่าเป็นภัยคุกคามต่อโจโฉ [[เตียวสิ้ว]]ซึ่งบัญชาการในดินแดนของเล่าเปียวบนชายแดนติดกับอาณาเขตของโจโฉ ดังนั้นโจโฉต้องการที่จะโจมตีเขา ในช่วงต้นปี ค.ศ. 197 เตียวสิ้วได้ยอมสวามิภักดิ์ต่อโจโฉ แต่กลับเข้าโจมตีค่ายทหารของโจโฉในตอนกลางคืน ([[การศึกระหว่างโจโฉและเตียวสิ้ว|ยุทธการที่อ้วนเซีย]]) ซึ่งได้คร่าชีวิตทหารจำนวนมาก รวมทั้ง[[โจงั่ง]]บุตรชายของเฉาเชา และโจโฉจึงต้องหลบหนีไป


ภายหลังจากใช้เวลาเพียงไม่กี่เดือนในการฟื้นฟู เฉาเชาได้หันความสนใจไปที่[[อ้วนสุด|หยวนซู่]](อ้วนสุด) ซึ่งได้ประกาศสถาปนาตัวเองเป็นจักรพรรดิแห่งราชวงศ์จงขึ้นมา ในนามของของการฟื้นฟูราชวงศ์ฮั่น เฉาเชาและขุนศึกคนอื่น ๆ ได้จัดตั้งแนวร่วมพันธมิตรต่อต้านหยวนซู่ และเฉาเชาได้เข้ายึดครองดินแดนทั้งหมดของหยวนซู่จากทางตอนเหนือของแม่น้ำฮวยในฤดูใบไม้ร่วง ค.ศ. 197 ในขณะที่ดินแดนที่เหลืออยู่ของหยวนซู่ได้ประสบภัยแล้งและการเก็บเกี่ยวที่ไม่ดีทำให้อำนาจของเขาลดลงไปอีก
ภายหลังจากใช้เวลาเพียงไม่กี่เดือนในการฟื้นฟู โจโฉได้หันความสนใจไปที่[[อ้วนสุด]]ซึ่งได้ประกาศสถาปนาตัวเองเป็นจักรพรรดิแห่งราชวงศ์ต๋องซือ (''จ้งชื่อ'') ขึ้นมา ในนามของของการฟื้นฟูราชวงศ์ฮั่น โจโฉและขุนศึกคนอื่น ๆ ได้จัดตั้งแนวร่วมพันธมิตรต่อต้านอ้วนสุด และโจโฉได้เข้ายึดครองดินแดนทั้งหมดของอ้วนสุดจากทางตอนเหนือของแม่น้ำห้วย (''ไหฺว'') ในฤดูใบไม้ร่วง ค.ศ. 197 ในขณะที่ดินแดนที่เหลืออยู่ของอ้วนสุดได้ประสบภัยแล้งและการเก็บเกี่ยวที่ไม่ดีทำให้อำนาจของเขาลดลงไปอีก


ต่อมาใน ค.ศ. 197 เฉาเชาได้กลับไปทางใต้เพื่อเข้าโจมตีหลิว เปียว/จางสิ้นอีกครั้ง ครั้งนี้ เฉาเชาได้ประสบความสำเร็จอย่างมากและทำให้สร้างความเสียหายอย่างมากต่อกองทัพของพวกเขา เฉาเชาได้เข้าโจมตีจางสิ้นอีกครั้งใน ค.ศ. 198 ซึ่งนำไปสู่ยุทธการที่หรางเฉิงและเอาชนะอีกครั้ง ในที่สุดเขาก็ต้องถอนกำลังออกจากการสู้รบในครั้งนี้เพราะเขาได้รับข่าวว่า หยวนเซ่ากำลังวางแผนที่จะกรีฑาทัพไปยังนครสวี่ แม้ว่าในภายหลังจะถูกพบว่าข่าวนั้นไม่เป็นความจริงก็ตาม
ต่อมาใน ค.ศ. 197 โจโฉได้กลับไปทางใต้เพื่อเข้าโจมตีเล่าเปียวและเตียวสิ้วอีกครั้ง ครั้งนี้ โจโฉประสบความสำเร็จอย่างมากและทำให้สร้างความเสียหายอย่างมากต่อกองทัพของพวกเขา โจโฉได้เข้าโจมตีเตียวสิ้วอีกครั้งใน ค.ศ. 198 ซึ่งนำไปสู่ยุทธการที่หรางเฉิงและเอาชนะอีกครั้ง ในที่สุดเขาก็ต้องถอนกำลังออกจากการสู้รบในครั้งนี้เพราะเขาได้รับข่าวว่า อ้วนเสี้ยวกำลังวางแผนที่จะกรีฑาทัพไปยังนครฮูโต๋ แม้ว่าในภายหลังจะถูกพบว่าข่าวนั้นไม่เป็นความจริงก็ตาม


ในเดือนเมษายน ค.ศ. 198 เฉาเชาได้ส่งไปปลุกระดมขุนศึกตะวันตกเพื่อเข้าโจมตีฉางอัน ซึ่งยังถูกควบคุมโดย[[ลิฉุย|หลี่จือ]](ลิฉุย) ผู้สืบทอดอำนาจต่อจากต่งจั่ว Duan Wei (段煨 ตวนอุย) หนึ่งในขุนพลผู้อยู่ใต้บังคับบัญชาของหลี่จือได้ก่อกบฏและสังหารหลี่จือพร้อมกับครอบครัวของเขาในช่วงฤดูร้อน ค.ศ. 198 Duan Wei ได้ส่งมอบหัวของหลี่จือไปยังนครสวี่ (เพื่อหลักฐานยืนยันในการยอมสวามิภักดิ์ต่อเฉาเชา)
ในเดือนเมษายน ค.ศ. 198 โจโฉได้ส่งไปปลุกระดมขุนศึกตะวันตกเพื่อเข้าโจมตีเตียงฮัน ซึ่งยังถูกควบคุมโดย[[ลิฉุย]] ผู้สืบทอดอำนาจต่อจากตั๋งโต๊ะ ตวยอุย (段煨 ''ตฺวั้น เวย์'') หนึ่งในขุนพลผู้อยู่ใต้บังคับบัญชาของลิฉุยได้ก่อกบฏและสังหารลิฉุยพร้อมกับครอบครัวของเขาในช่วงฤดูร้อน ค.ศ. 198 ตวนอุยได้ส่งมอบศีรษะของลิฉุยไปยังนครฮูโต๋ (เพื่อหลักฐานยืนยันในการยอมสวามิภักดิ์ต่อโจโฉ)


ในขณะเดียวกัน ลฺหวี่ ปู้ก็กำเริบเสิบสานมากขึ้น เขาได้ขับไล่หลิวเป้ย์(ซึ่งหลบหนีไปอยู่กับเฉาเชา) ออกจากดินแดนของเขาเองอีกครั้งและร่วมมือกับหยวนซู่ เนื่องจากจางสิ้นพร้อมกับกองทัพของเขาเพิ่งจะถูกบดขยี้ เขาไม่ได้เป็นภัยคุกคามในทางใต้อีกต่อไป ดังนั้นโจโฉจึงไปทางตะวันออกเพื่อเข้าปราบปรามลฺหวี่ ปู้
ในขณะเดียวกัน ลิโป้ก็กำเริบเสิบสานมากขึ้น เขาขับไล่เล่าปี่ (ซึ่งหลบหนีไปอยู่กับโจโฉ) ออกจากดินแดนของเขาเองอีกครั้งและร่วมมือกับอ้วนสุด เนื่องจากเตียวสิ้วพร้อมกับกองทัพของเขาเพิ่งจะถูกบดขยี้ เขาไม่ได้เป็นภัยคุกคามในทางใต้อีกต่อไป ดังนั้นโจโฉจึงไปทางตะวันออกเพื่อเข้าปราบปรามลิโป้


=== การพิชิตชีจิ๋วและอิจิ๋ว(ค.ศ. 199) ===
=== การพิชิตชีจิ๋วและอิจิ๋ว (ค.ศ. 199) ===
เฉาเชาได้เอาชนะลฺหวี่ ปู้ในการต่อสู้รบหลายครั้งและในที่สุดก็โอบล้อมไว้ได้ที่เซี่ยปี่(แฮ้ฝือ) ลฺหวี่ ปู้ได้พยายามที่จะตีฝ่าออกไปแต่ทำไม่สำเร็จ ในที่สุดเจ้าหน้าที่นายทหารและทหารของเขาจำนวนมากได้แปรพักตร์ให้กับเฉาเชา บางคนถูกลักพาตัวโดยผู้ทรยศ ลฺหวี่ ปู้เริ่มรู้สึกท้อแท้และยอมจำนนต่อเฉาเชา ซึ่งได้ประหารชีวิตเขา เมื่อวันที่ 7 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 199 การกำจัดลฺหวี่ ปู้ทำให้เฉาเชาได้ควบคุมมณฑลซูโจวอย่างมีประสิทธิภาพ
โจโฉได้เอาชนะลิโป้ในการต่อสู้รบหลายครั้งและในที่สุดก็โอบล้อมไว้ได้ที่แห้ฝือ (''เซี่ยพี'') ลิโป้ได้พยายามที่จะตีฝ่าออกไปแต่ทำไม่สำเร็จ ในที่สุดเจ้าหน้าที่นายทหารและทหารของเขาจำนวนมากได้แปรพักตร์ให้กับโจโฉ บางคนถูกลักพาตัวโดยผู้ทรยศ ลิโป้ริ่มรู้สึกท้อแท้และยอมจำนนต่อโจโฉ ซึ่งได้ประหารชีวิตเขา เมื่อวันที่ 7 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 199 การกำจัดลิโป้ทำให้โจโฉได้ควบคุมมณฑลชีจิ๋วอย่างมีประสิทธิภาพ


เมื่อลฺหวี่ปู้ได้จากไปแล้ว เฉาเชาได้เริ่มทำปราบปราม[[หยวนซู่]] เขาได้ส่งหลิวเป้ยและ[[จูเหลง|จูหลิง]](จูเหลง) ไปทางใต้เพื่อเข้าโจมตีหยวนซู่ อย่างไรก็ตาม จักรพรรดิผู้เป็นกบฏได้จบชีวิตในช่วงฤดูร้อน ค.ศ. 199 ก่อนที่หลิวเป้ย์และคนอื่น ๆ ได้เดินทางมาถึง ซึ่งหมายความว่า เฉาเชาก็ไร้ซึ่งคู่ปรับที่สำคัญในภูมิภาคแม่น้ำฮวย(อิจิ๋วหรือยูโจว) อีกต่อไป ในขณะเดียวกัน ในเดือนมีนาคม ค.ศ. 199 หยวนเซ่าได้จบศึกกับ[[กองซุนจ้าน|กงซุ้นจ้าน]](กองซุนจ้าน)ใน[[ยุทธการที่อี้จิง]] และวางแผนที่จะเคลื่อนทัพไปทางใต้เพื่อเอาชนะเฉาเชา เมื่อเห็นดังนั้น เฉาเชาได้เริ่มเตรียมความพร้อมการป้องกัน โดยตั้งใจที่จะยืนหยัดที่กัวต๋อ ตามคำแนะนำของ[[กาเซี่ยง|เจี๋ยสวี่]](กาเซี่ยง) จางสิ้นได้ยอมสวามิภักด์ต่อเฉาเชาและกองทัพของเขาได้ถูกรวมเข้ากับกองทัพของเฉาเชา ภายหลังจากที่พวกเขาได้ปฏิเสธทูตของหยวนเซ่าเพื่อขอให้มาเป็นพันธมิตรกัน
เมื่อลิโป้ได้จากไปแล้ว โจโฉได้เริ่มทำปราบปราม[[อ้วนสุด]] เขาส่งเล่าปี่และ[[จูเหลง]] (''จู หลิง'') ไปทางใต้เพื่อเข้าโจมตีอ้วนสุด แต่อ้วนสุดเสียชีวิตในช่วงฤดูร้อน ค.ศ. 199 ก่อนที่เล่าปี่และคนอื่น ๆ ได้เดินทางมาถึง ซึ่งหมายความว่า โจโฉก็ไร้ซึ่งคู่ปรับที่สำคัญในภูมิภาคแม่น้ำห้วย (ชีจิ๋วและอิจิ๋ว) อีกต่อไป ในขณะเดียวกัน ในเดือนมีนาคม ค.ศ. 199 อ้วนเสี้ยวได้จบศึกกับ[[กองซุนจ้าน]]ใน[[ยุทธการที่อี้จิง]] และวางแผนที่จะเคลื่อนทัพไปทางใต้เพื่อเอาชนะโจโฉ เมื่อเห็นดังนั้น โจโฉได้เริ่มเตรียมความพร้อมการป้องกัน โดยตั้งใจที่จะยืนหยัดที่กัวต๋อ ตามคำแนะนำของ[[กาเซี่ยง]] เตียวสิ้วยอมสวามิภักด์ต่อโจโฉและกองทัพของเขาได้ถูกรวมเข้ากับกองทัพของโจโฉ ภายหลังจากที่พวกเขาได้ปฏิเสธทูตของอ้วนเสี้ยวเพื่อขอให้มาเป็นพันธมิตรกัน


== รวบรวมทางตอนเหนือของจีน(ค.ศ. 200-207) ==
== รวบรวมทางตอนเหนือของจีน(ค.ศ. 200-207) ==


=== การหักหลังและความพ่ายแพ้ของหลิว เป้ย์ ===
=== การทรยศและความพ่ายแพ้ของเล่าปี่ ===
ใกล้สิ้นปี ค.ศ. 199 หลิวเป้ย์ได้ทรยศหักหลังเฉาเชาและสังหารผู้บัญชาการในซูโจว(ชีจิ๋ว) กล่าวอ้างว่าเป็นเจ้าของมณฑลแห่งนี้ เฉาเชาต้องการที่จะเข้าโจมตีหลิวเป้ย์อย่างรวดเร็วเพื่อไม่ให้กลายเป็นสงครามสองด้าน ในขณะที่บางคนในราชสำนักเกิดความกังวลว่าหยวนเซ่าจะเข้าโจมตีพวกเขาในไม่ช้า ถ้าหากกองทัพหลักจะเคลื่อนทัพไปทางตะวันออก [[กุยแก|กวอเจีย]](กุยแก)ได้ให้ความมั่นใจกับเฉาเชาว่า หยวนเซ่าจะตอบสนองที่ล่าช้า และเฉาเชาสามารถจัดการหลิวเป้ย์ได้ หากเขาจัดการได้อย่างรวดเร็ว ตามคำแนะนำของกวอเจีย เฉาเชาได้เข้าโจมตีหลิวเป้ย์และเอาชนะเขาได้อย่างเด็ดขาดในซูโจว ได้จับกุม[[กวนอู|กวนยฺหวี่]](กวนอู) พร้อมกับสมาชิกครอบครัวของหลิวเป้ย เมื่อเริ่มต้นปี ค.ศ. 200 ส่วนหลิวเป้ย์ก็ได้หลบหนีไปอาศัยอยู่กับหยวนเซ่า ซึ่งได้ส่งเพียงแค่ส่วนหนึ่งของกองทัพของเขาเพื่อเข้าโจมตีเฉาเชา การจู่โจมครั้งนี้ถูกหยุดยั้งโดย[[อิกิ๋ม|หยูจิ้น]](อิกิ๋ม) ในยุทธการที่ Dushi Ford ในเดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ. 200 เป็นเครื่องหมายของการปะทุของการเปิดฉากสงครามระหว่างเฉาและหยวน
ใกล้สิ้นปี ค.ศ. 199 เล่าปี่ทรยศโจโฉและสังหาร[[กีเหมา]]ผู้บัญชาการทหารของโจโฉในมณฑลชีจิ๋ว อ้างสิทธิ์การเป็นเจ้าของมณฑล โจโฉต้องการที่จะเข้าโจมตีเล่าปี่อย่างรวดเร็วเพื่อไม่ให้กลายเป็นสงครามสองด้าน ในขณะที่บางคนในราชสำนักกังวลว่าอ้วนเสี้ยวจะเข้าโจมตีพวกเขาในไม่ช้า ถ้าหากกองทัพหลักจะเคลื่อนทัพไปทางตะวันออก [[กุยแก]]ให้ความมั่นใจกับโจโฉว่า อ้วนเสี้ยวจะตอบสนองที่ล่าช้า และโจโฉสามารถจัดการเล่าปี่ได้ หากเขาจัดการได้อย่างรวดเร็ว ตามคำแนะนำของกุยแก โจโฉเข้าโจมตีเล่าปี่และเอาชนะได้อย่างเด็ดขาดในชีจิ๋ว จับกุม[[กวนอู]]พร้อมกับสมาชิกครอบครัวของเล่าปี่เมื่อต้นปี ค.ศ. 200 ส่วนเล่าปี่หลบหนีไปอาศัยอยู่กับอ้วนเสี้ยว ซึ่งได้ส่งเพียงแค่ส่วนหนึ่งของกองทัพของเขาเพื่อเข้าโจมตีโจโฉ การจู่โจมครั้งนี้ถูกหยุดยั้งโดย[[อิกิ๋ม]]ในยุทธการที่ท่าข้ามตู้ชื่อในเดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ. 200 เป็นเครื่องหมายของการปะทุของการเปิดฉากสงครามระหว่างโจโฉและอ้วนเสี้ยว


=== สงครามกับตระกูลอ้วน ===
=== สงครามกับตระกูลอ้วน ===
[[ไฟล์:Cao Cao's conquest of northern China 200–207.png|400px|thumb|การพิชิตดินแดนของเฉาเชามาจากตระกูลหยวน ตั้งแต่ ค.ศ. 200–207]]
[[ไฟล์:Cao Cao's conquest of northern China 200–207.png|400px|thumb|การพิชิตดินแดนของโจโฉมาจากตระกูลอ้วน ตั้งแต่ ค.ศ. 200–207]]


==== การทัพกัวต๋อ ====
==== การทัพกัวต๋อ ====
{{Main|ยุทธการที่กัวต๋อ}}
{{Main|ยุทธการที่กัวต๋อ}}
ใน ค.ศ. 200 หยวนเซ่าได้กรีฑาทัพไปทางใต้สู่นครสวี่เพื่อหมายจะให้ความช่วยเหลือแก่จักรพรรดิ เขาได้รวบรวมกองทหารจำนวนมากกว่า 110,000 นาย รวมทั้งทหารม้าหนัก 10,000 นาย ในขณะที่เฉาเชาได้รวบรวมกองทหารมาได้ประมาณ 40,000 นาย ซึ่งส่วนมากเขาได้รวมกองกำลังไว้ที่[[กัวต๋อ]]ซึ่งเป็นจุดยุทธศาสตร์บน[[แม่น้ำหวงเหอ|แม่น้ำหวางเหอ]] กองทัพของเฉาได้ขับไล่การโจมตีของหยวนหลายครั้งและได้รับชับชนะทางยุทธวิธีที่ Dushi Ford (กุมภาพันธ์) Boma (มีนาคม-พฤษภาคม) และ Yan Ford (พฤษภาคม-สิงหาคม) กองทัพทั้งสองฝ่ายได้หยุดชะงักลงใน[[ยุทธการที่กัวต๋อ]](กันยายน-พฤศจิกายน) เนื่องจากทั้งสองฝ่ายไม่สามารถที่รุกคือต่อไปได้มากนัก การขาดแคลนกำลังคนของเฉาเชาทำให้เขาไม่สามารถโจมตีอย่างมีนัยสำคัญ และความภาคภูมิใจของหยวนเซ่าได้บีบบังคับให้เขาต้องเผชิญหน้ากับกองกำลังของเฉาอย่างตรงไปตรงมา แม้ว่าเขาจะได้เปรียบทางด้านกำลังคนอย่างท่วมท้น แต่หยวนเซ่าก็ไม่สามารถใช้ทรัยากรของเขาได้อย่างเต็มที่ เนื่อ เนื่องจากความเป็นผู้นำที่ลังเลเอาแน่นอนไม่ได้และตำแหน่งฐานะของเฉาเชา
ใน ค.ศ. 200 อ้วนเสี้ยวกรีฑาทัพไปทางใต้สู่นครฮูโต๋เพื่อหมายจะให้ความช่วยเหลือแก่จักรพรรดิ เขาได้รวบรวมกองทหารจำนวนมากกว่า 110,000 นาย รวมทั้งทหารม้าหนัก 10,000 นาย ในขณะที่โจโฉรวบรวมกองทหารมาได้ประมาณ 40,000 นาย ซึ่งส่วนมากเขาได้รวมกองกำลังไว้ที่[[กัวต๋อ]]ซึ่งเป็นจุดยุทธศาสตร์บน[[แม่น้ำหวงเหอ|แม่น้ำฮองโห]] (''หฺวางเหอ'') กองทัพของโจโฉขับไล่การโจมตีของอ้วนเสี้ยวหลายครั้งและได้รับชับชนะทางยุทธวิธีที่ท่าข้ามตู้ชื่อ (กุมภาพันธ์) แปะเบ๊ (มีนาคม-พฤษภาคม) และท่าข้ามเหยียน (พฤษภาคม-สิงหาคม) กองทัพทั้งสองฝ่ายได้หยุดชะงักลงใน[[ยุทธการที่กัวต๋อ]](กันยายน-พฤศจิกายน) เนื่องจากทั้งสองฝ่ายไม่สามารถที่รุกคือต่อไปได้มากนัก การขาดแคลนกำลังคนของโจโฉทำให้เขาไม่สามารถโจมตีอย่างมีนัยสำคัญ และความภาคภูมิใจของอ้วนเสี้ยวได้บีบบังคับให้เขาต้องเผชิญหน้ากับกองกำลังของโจโฉอย่างตรงไปตรงมา แม้ว่าเขาจะได้เปรียบทางด้านกำลังคนอย่างท่วมท้น แต่อ้วนเสี้ยวก็ไม่สามารถใช้ทรัยากรของเขาได้อย่างเต็มที่ เนื่อ เนื่องจากความเป็นผู้นำที่ลังเลเอาแน่นอนไม่ได้และตำแหน่งฐานะของเฉาเชา


นอกจากนั้นท่ามกลางสมรภูมิกัวต๋อ ยังมีสองแนวรบที่เกิดขึ้น: แนวรบด้านตะวันออกด้วยกองทัพของหยวนเซ่าภายใต้การนำโดย Yuán Tán([[อ้วนถำ]]) เข้าปะทะกับกองทัพของเฉาเชาภายใต้การนำโดย ''Zāng Bà'' ([[จงป้า]]) ซึ่งเป็นสงครามด้านหนึ่งเพื่อสนับสนุนแก่เฉา เนื่องจากความเป็นผู้นำที่ต่ำต้อยของ Yuán Tán ไม่คู่ควรกับความรู้ท้องถิ่นของ Zangและกลยุทธ์แบบเข้าปะทะแล้วหนีของเขา ด้านแนวรบด้านตะวันตก [[โกกัน|เกากาน]](โกกัน) หลานชายหยวนเซ่า ได้เข้าโจมตีกองทัพของเฉาเชาได้ดีกว่า และบีบบังคับให้เสริมกำลังหลายครั้งจากค่ายหลักของเฉาเพื่อรักษาแนวรบด้านตะวันตก หลิวเป้ย์ซึ่งเป็นแขกในกองทัพหยวนเซ่า ได้ให้คำแนะนำในการยุยงปลุกปั่นการก่อกบฏในดินแดนของเฉาเชา เนื่องจากผู้ติดตามของหยวนจำนวนมากอยู่ในดินแดนของเฉา กลยุทธ์นี้ได้ประสบความสำเร็จในช่วงแรก แต่ทักษะทางการทูตของ Man Chong ([[หมันทอง]]) ได้ช่วยเหลือในการแก้ไขความขัดแย้งแทบจะในทันที Man Chong ได้ถูกวางตัวในฐานะเจ้าหน้าที่ด้วยเหตุผลเฉพาะกิจนี้ เนื่องจากเฉาเชาได้มองเห็นถึงความเป็นไปได้ของการก่อการกำเริบก่อนการสู้รบ เฉาได้เข้าตีโฉบฉวบทำลายคลังเสบียงของหยวนที่หมู่บ้าน Gushi ทำให้หยวนเซ่าต้องตั้งคลังเสบียงฉุกเฉินที่ Wuchao ในที่สุดในเดือนที่ 10 [[เขาฮิว|สวี่ซิว]](เขาฮิว) ซึ่งเป็นผู้แปรพักตร์จากกองทัพหยวนเซ่า ได้แจ้งบอกแก่เฉาเชาถึงที่ตั้งของคลังเสบียงแห่งใหม่ของหยวน เฉาเชาได้ทำลายภาวะจนมุมโดยการส่งกองกำลังพิเศษไปที่ Wuchao เพื่อทำการเผาเสบียงทั้งหมดของกองทัพหยวนเซ่า ซึ่งทำให้เกิดเสียขวัญอย่างมาก หยวนได้เข้าโจมตีเป็นครั้งสุดท้าย ซึ่งประสบความสูญเสียและล้มเหลวในท้ายที่สุดในกัวต๋อ และเช้าวันรุ่งขึ้น เฉาได้เปิดฉากการโจมตีแบบไม่ทันตั้งตัวในการทำลายล้างต่อกองทัพข้าศึกที่กำลังล่าถอย ซึ่งทำให้ได้รับชัยชนะที่เด็ดขาดและดูเหมือนว่าจะเป็นชัยชนะที่แทบจะเป็นไปไม่ได้เลย ในการรายงานต่อจักรพรรดิฮั่นเซี่ยน เฉาเชาได้อ้างว่าได้สังหารทหารจำนวนมากว่า 70,000 นายของกองทัพที่มีจำนวนเท่าเดิม 110,000 นายของหยวนเซ่า ภายหลังเขาได้ออกคำสั่งให้นำทหารข้าศึกส่วนใหญ่ที่ถูกจับกุมมาได้ให้ทำการฝังทั้งเป็น ไม่กี่เดือนต่อมา ในเดือนพฤษภาคม หรือ มิถุนายน ค.ศ. 201 เฉาเชาได้เอาชนะหยวนเซ่าอีกครั้งในยุทธการที่ Cangting ซึ่งได้กำจัดกองกำลังสุดท้ายในเวลาต่อมา บนทางใต้ของแม่น้ำหวางเหอ
นอกจากนั้นท่ามกลางสมรภูมิกัวต๋อ ยังมีสองแนวรบที่เกิดขึ้น: แนวรบด้านตะวันออกด้วยกองทัพของอ้วนเสี้ยวภายใต้การนำโดย[[อ้วนถำ]] เข้าปะทะกับกองทัพของโจโฉภายใต้การนำโดย[[จงป้า]] ซึ่งเป็นสงครามด้านหนึ่งเพื่อสนับสนุนแก่โจโฉ เนื่องจากความเป็นผู้นำที่ต่ำต้อยของอ้วนถำ ไม่คู่ควรกับความรู้ท้องถิ่นของจงป้าและกลยุทธ์แบบเข้าปะทะแล้วหนีของเขา ด้านแนวรบด้านตะวันตก [[โกกัน]]หลานชายอ้วนเสี้ยวเข้าโจมตีกองทัพของโจโฉได้ดีกว่า และบีบบังคับให้เสริมกำลังหลายครั้งจากค่ายหลักของโจโฉเพื่อรักษาแนวรบด้านตะวันตก เล่าปี่ซึ่งเป็นแขกในกองทัพอ้วนเสี้ยว ได้ให้คำแนะนำในการยุยงปลุกปั่นการก่อกบฏในดินแดนของโจโฉ เนื่องจากผู้ติดตามของอ้วนเสี้ยวจำนวนมากอยู่ในดินแดนของโจโฉ กลยุทธ์นี้ได้ประสบความสำเร็จในช่วงแรก แต่ทักษะทางการทูตของ[[หมันทอง]]ช่วยเหลือในการแก้ไขความขัดแย้งแทบจะในทันที หมันทองได้ถูกวางตัวในฐานะเจ้าหน้าที่ด้วยเหตุผลเฉพาะกิจนี้ เนื่องจากโจโฉได้มองเห็นถึงความเป็นไปได้ของการก่อการกำเริบก่อนการสู้รบ โจโฉเข้าตีโฉบฉวบทำลายคลังเสบียงของอ้วนเสี้ยวที่หมู่บ้านกู้ชื่อ ทำให้อ้วนเสี้ยวต้องตั้งคลังเสบียงฉุกเฉินที่อัวเจ๋า ในที่สุดในเดือนที่ 10 [[เขาฮิว]]ซึ่งเป็นผู้แปรพักตร์จากกองทัพอ้วนเสี้ยว ได้แจ้งบอกแก่โจโฉถึงที่ตั้งของคลังเสบียงแห่งใหม่ของอ้วนเสี้ยว โจโฉทำลายภาวะจนมุมโดยการส่งกองกำลังพิเศษไปที่อัวเจ๋า เพื่อทำการเผาเสบียงทั้งหมดของกองทัพอ้วนเสี้ยว ซึ่งทำให้เกิดเสียขวัญอย่างมาก อ้วนเสี้ยวได้เข้าโจมตีเป็นครั้งสุดท้าย ซึ่งประสบความสูญเสียและล้มเหลวในท้ายที่สุดในกัวต๋อ และเช้าวันรุ่งขึ้น โจโฉได้เปิดฉากการโจมตีแบบไม่ทันตั้งตัวในการทำลายล้างต่อกองทัพข้าศึกที่กำลังล่าถอย ซึ่งทำให้ได้รับชัยชนะที่เด็ดขาดและดูเหมือนว่าจะเป็นชัยชนะที่แทบจะเป็นไปไม่ได้เลย ในการรายงานต่อพระเจ้าเหี้ยนเต้ โจโฉอ้างว่าได้สังหารทหารจำนวนมากว่า 70,000 นายของกองทัพที่มีจำนวนเท่าเดิม 110,000 นายของอ้วนเสี้ยว ภายหลังเขาได้ออกคำสั่งให้นำทหารข้าศึกส่วนใหญ่ที่ถูกจับกุมมาได้ให้ทำการฝังทั้งเป็น ไม่กี่เดือนต่อมา ในเดือนพฤษภาคม หรือ มิถุนายน ค.ศ. 201 โจโฉได้เอาชนะอ้วนเสี้ยวอีกครั้งในยุทธการที่ซองเต๋ง ซึ่งได้กำจัดกองกำลังสุดท้ายในเวลาต่อมา ทางใต้ของแม่น้ำฮองโห


==== พิชิตดินแดนเหนือ ====
==== พิชิตดินแดนเหนือ ====
หยวนเซ่าได้ล้มป่วยได้ไม่นานหลังจากประสบความปราชัย และเสียชีวิตในเดือนมิถุนายน ค.ศ. 202 ซึ่งทิ้งไว้เหลือแค่บุตรสามคน และไม่ได้มีการแต่งตั้งทายาทผู้สืบทอดอย่างเป็นทางการ แม้จะดูเหมือนว่าเขาจะเอ็นดูต่อ Yuan Shang(อ้วนซง) บุตรชายคนเล็กสุดท้องของเขา(ซึ่งควบคุมใน Ji Province) ในฐานะทายาทของเขา [[Yuán Tán]] บุตรชายคนโต (ผู้ว่าราชการมณฑลแห่งจังหวัดชิง) ได้ท้าทายเขา และทั้งสองพี่น้องได้เข้าสู่สงครามแย่งชิงการสืบทอด ในขณะที่พวกเขาได้ต่อสู้รบกับเฉาเชา เฉาเชาได้ใช้ความขัดแย้งภายในตระกูลหยวนเพื่อผลประโยชน์ของเขา และในช่วงยุทธการที่ลิหย่าง(ตุลาคม ค.ศ. 202 – มิถุนายน ค.ศ. 203) เขาได้ขับไล่พวกหยวนกลับไปยังฐานที่มั่นของพวกเขาที่เยว์ (ภายใต้การควบคุมของYuan Shang) จากนั้นเขาก็ได้ถอนกำลัง รวบรวมดินแดนของเขาที่ได้รับมาแทนที่จะเข้าพิชิตดินแดนเอาไว้ทั้งหมด อาจเป็นไปได้ว่า ฝ่ายค้านในราชสำนักในนครสวี ต้องการหันเหความสนใจของเขา เมื่อคลายความกดดันจากเฉาเชาแบบชั่วคราว ความบาดหมางระหว่างพี่น้องก็ทวีความรุนแรงมากขึ้น และ Yuan Shang ได้โอบล้อมฐานที่มั่นของ Yuán Tán ที่ผิงหยาง (平原), ได้บีบบังคับในภายหลังซึ่งได้ลงเอยด้วยการสมรสพันธมิตรกับเฉาเชา มณฑล ji ได้ตกเป็นของเฉาเชาในฤดูร้อน ค.ศ. 204 ภายหลังจากโอบล้อมเย่ว์เป็นเวลาห้าเดือน เฉาเชาได้แสดงความเคารพหลุมฝังศพของหยวนเซ่า ภายหลังจากการพิชิตเย่ว์มาได้ ซึ่งได้ร้องไห้อย่างขมขื่นสำหรับเพื่อนเก่าแก่ของเขาต่อหน้าผู้ติดตามของเขาและได้มอบของขวัญปลอบโยนแก่ครอบครัวของหยวนเซ่าและเงินบำนาญจากรัฐบาล Yuan Shang ได้หลบหนีไปทางเหนือเข้าหากับบุตรชายคนที่สาม ผู้ว่าราชการมณฑล Yuan Xi ([[อ้วนฮี]]) แห่งมณฑลยูโจว ในขณะที่เกากานได้หลบหนีไปเข้าหากับผู้ว่าราชการมณฑลแห่ง Bing Province ซึ่งแปรพักตร์ให้กับเฉาเชา ในเดือนมกราคม และกุมภาพันธ์ ค.ศ. 205 เฉาเชาได้หันไปเข้าโจมตี Yuán Tán ที่ไม่จงรักภักดี เอาชนะและสังหารเขาในยุทธการที่ Nanpi และพิชิตมณฑลชิงโจวไว้ได้ เกากานได้ก่อการกบฎใน ค.ศ. 205 แต่ในปี ค.ศ. 206 เฉาเชาได้เอาชนะและสังหารเขา ได้รวมผนวกดินแดน Bing เอาไว้อย่างสิ้นเชิง
อ้วนเสี้ยวล้มป่วยได้ไม่นานหลังจากประสบความปราชัย และเสียชีวิตในเดือนมิถุนายน ค.ศ. 202 ซึ่งทิ้งไว้เหลือแค่บุตรสามคน และไม่ได้มีการแต่งตั้งทายาทผู้สืบทอดอย่างเป็นทางการ แม้จะดูเหมือนว่าเขาจะเอ็นดูต่อ[[อ้วนซง]]บุตรชายคนเล็กสุดท้องของเขา (ซึ่งควบคุมมณฑลกิจิ๋ว) ในฐานะทายาทของเขา [[อ้วนถำ]] บุตรชายคนโต (ผู้ว่าราชการมณฑลแห่งมณฑลเฉงจิ๋ว) ได้ท้าทายเขา และทั้งสองพี่น้องได้เข้าสู่สงครามแย่งชิงการสืบทอด ในขณะที่พวกเขาได้ต่อสู้รบกับโจโฉ โจโฉใช้ความขัดแย้งภายในตระกูลอ้วนเพื่อผลประโยชน์ของเขา และในช่วงยุทธการที่ลิหยง (ตุลาคม ค.ศ. 202 – มิถุนายน ค.ศ. 203) เขาได้ขับไล่พวกอ้วนกลับไปยังฐานที่มั่นของพวกเขาที่เงียบกุ๋น (ภายใต้การควบคุมของอ้วนซง) จากนั้นเขาก็ได้ถอนกำลัง รวบรวมดินแดนของเขาที่ได้รับมาแทนที่จะเข้าพิชิตดินแดนเอาไว้ทั้งหมด อาจเป็นไปได้ว่า ฝ่ายค้านในราชสำนักในนครสวี ต้องการหันเหความสนใจของเขา เมื่อคลายความกดดันจากโจโฉแบบชั่วคราว ความบาดหมางระหว่างพี่น้องก็ทวีความรุนแรงมากขึ้น อ้วนซงโอบล้อมฐานที่มั่นของอ้วนภำที่เพงงวนก๋วน (平原 ''ผิงหยาง'') ได้บีบบังคับในภายหลังซึ่งได้ลงเอยด้วยการสมรสพันธมิตรกับโจโฉ มณฑลกิจิ๋วได้ตกเป็นของโจโฉในฤดูร้อน ค.ศ. 204 ภายหลังจากโอบล้อมเงียบกุ๋นเป็นเวลาห้าเดือน โจโฉได้แสดงความเคารพหลุมฝังศพของอ้วนเสี้ยว ภายหลังจากการพิชิตเงียบกุ๋นมาได้ ซึ่งได้ร้องไห้อย่างขมขื่นสำหรับเพื่อนเก่าแก่ของเขาต่อหน้าผู้ติดตามของเขาและได้มอบของขวัญปลอบโยนแก่ครอบครัวของอ้วนเสี้ยวและเงินบำนาญจากรัฐบาล อ้วนซงหลบหนีไปทางเหนือเข้าหากับบุตรชายคนที่สาม ผู้ว่าราชการมณฑล[[อ้วนฮี]]แห่งมณฑลอิวจิ๋ว ในขณะที่โกกันผู้ว่าราชการมณฑลแห่งเป๊งจิ๋วแปรพักตร์เข้าด้วยโจโฉ ในเดือนมกราคมและกุมภาพันธ์ ค.ศ. 205 โจโฉได้หันไปเข้าโจมตีอ้วนถำที่ไม่จงรักภักดี เอาชนะและสังหารเขาในยุทธการที่ลำพี้ และพิชิตมณฑลเฉงจิ๋วไว้ได้ โกกันได้ก่อการกบฎใน ค.ศ. 205 แต่ในปี ค.ศ. 206 โจโฉได้เอาชนะและสังหารเขา ได้รวมผนวกดินแดนมณฑลเป๊งจิ๋วเอาไว้อย่างสิ้นเชิง


เฉาเชาได้แสร้งทำเป็นว่า ได้มีอำนาจเหนือดินแดนทางตอนเหนือของจีนเอาไว้ทั้งหมด ได้ประสบความทุกข์ทรมานจากการก่อกำเริบในท่ามกลางทหารของตน Yuan Shang และ Yuan Xi ได้หลบหนีไปขอความช่วยเหลือจากหัวหน้าชนเผ่า Wuhuan หัวหน้าชนเผ่า Wuhuan นามว่า Tadun ได้ให้ความช่วยเหลือแก่สองพี่น้องหยวน และเริ่มเข้าโจมตีดินแดนของเฉา ใน ค.ศ. 207 เฉาเชาได้นำการทัพที่กล้าหาญในการออกนอกเขตชายแดนของจีนเพื่อทำลายล้างหยวนให้สิ้นไป เขาได้ต่อสู้รบกับพันธฒิตรของหัวหน้าชนเผ่า Wuhuan ใน[[ยุทธการที่ภูเขาหมาป่าขาว]] แม้ว่าจะมีกองกำลังจำนวนมากและเด็ดเดี่ยว เฉาเชาก็ได้รับชัยชนะ เนื่องจากได้สร้างระบบการขนส่งเสบียงอันชาญฉลาดโดยการขุดคลองสองแห่งขึ้นมาใหม่ และโจมตีขนาบข้างข้าศึก สังหาร Tadun และบีบบังคับให้หยวนต้องหลบหนีอีกครั้ง คราวนี้ พวกเขาได้ไปหา[[กองซุนของ|กงซุนคาง]](กองซุนของ)เพื่อขอความช่วยเหลือ แต่กงซุนคางกลับสั่งให้ประชีวิตพวกเขา และส่งมอบศีรษะของพวกเขาไปให้แก่เฉาเชา ทำให้เขาได้รับอำนาจการควบคุมในนามเหนือมณฑลยูโจว ในขณะเดียวกัน ชนเผ่าตอนเหนือซึ่งตอนนี้ได้เกิดความหวาดกลัวต่อเฉาเชา ส่วนมากของชนเผ่า Wuhuan ที่เหลือได้ยอมสวามิภักดิ์ต่อเขา พร้อมกับ[[เซี่ยนเป่ย์]]และ[[ซฺยงหนู]]
โจโฉได้แสร้งทำเป็นว่า ได้มีอำนาจเหนือดินแดนทางตอนเหนือของจีนเอาไว้ทั้งหมด ได้ประสบความทุกข์ทรมานจากการก่อกำเริบในท่ามกลางทหารของตน อ้วนซงและอ้วนฮีหลบหนีไปขอความช่วยเหลือจากหัวหน้าชนเผ่าออหวน หัวหน้าชนเผ่าออหวนนามว่า[[เป๊กตุ้น]]ให้ความช่วยเหลือแก่สองพี่น้องอ้วน และเริ่มเข้าโจมตีดินแดนของโจโฉ ใน ค.ศ. 207 โจโฉนำการทัพที่กล้าหาญในการออกนอกเขตชายแดนของจีนเพื่อทำลายล้างตระกูลอ้วนให้สิ้นไป เขาได้ต่อสู้รบกับพันธมิตรของหัวหน้าชนเผ่าออหวนใน[[ยุทธการที่เขาเป๊กลงสาน]] แม้ว่าจะมีกองกำลังจำนวนมากและเด็ดเดี่ยว โจโฉก็ได้รับชัยชนะ เนื่องจากได้สร้างระบบการขนส่งเสบียงอันชาญฉลาดโดยการขุดคลองสองแห่งขึ้นมาใหม่ และโจมตีขนาบข้างข้าศึก สังหารเป๊กตุ้นและบีบบังคับให้พี่น้องอ้วนต้องหลบหนีอีกครั้ง คราวนี้ พวกเขาได้ไปหา[[กองซุนของ]]เพื่อขอความช่วยเหลือ แต่กองซุนของกลับสั่งให้ประชีวิตพวกเขา และส่งมอบศีรษะของพวกเขาไปให้แก่โจโฉ ทำให้เขาได้รับอำนาจการควบคุมในนามเหนือมณฑลอิวจิ๋ว ในขณะเดียวกัน ชนเผ่าตอนเหนือซึ่งตอนนี้ได้เกิดความหวาดกลัวต่อโจโฉ ส่วนมากของชนเผ่าออหวนที่เหลือได้ยอมสวามิภักดิ์ต่อเขา พร้อมกับ[[เซียนเปย์]]และ[[ซฺยงหนู]]


== การทัพผาแดงและทางใต้(ค.ศ. 208-210) ==
== การทัพผาแดงและทางใต้ (ค.ศ. 208-210) ==


=== ยึดครองเกงจิ๋วเป็นการชั่วคราว(ค.ศ. 208) ===
=== ยึดครองเกงจิ๋วเป็นการชั่วคราว (ค.ศ. 208) ===
[[ไฟล์:Battle of Red Cliffs 208 extended map-en.svg|thumb|400px|แผนที่ของ[[ยุทธนาวีที่ผาแดง|การทัพผาแดง]] แสดงให้เห็นถึงการไล่ล่าติดตามหลิวเป้ย์ของเฉาเชา [[ยุทธการที่สะพานเตียงปันเกี้ยว|สะพานเตียงปันเกี้ย]] [[ยุทธนาวีที่ผาแดง|ผาแดง]] การล่าถอยของเฉาเชาและ[[ยุทธการที่กังเหลง (ค.ศ. 208)|จิงหลิง]](กังเหลง)]]
[[ไฟล์:Battle of Red Cliffs 208 extended map-en.svg|thumb|400px|แผนที่ของ[[ยุทธนาวีที่ผาแดง|การทัพผาแดง]] แสดงให้เห็นถึงการไล่ล่าติดตามเล่าปี่ของโจโฉ [[ยุทธการที่เตียงปัน]] [[ยุทธนาวีที่เซ็กเพ็ก|เซ็กเพ็ก (ผาแดง)]] การล่าถอยของโจโฉและ[[ยุทธการที่กังเหลง (ค.ศ. 208)|กังเหลง]]]]
ภายหลังความปราชัยของหยวนเซ่าที่กัวต๋อใน ค.ศ. 200 เฉาเชาได้บีบบังคับให้หลิวเป้ย์หลบหนีไปหาผู้ว่าราชการมณฑลแห่งจิงโจว หลิวเปียว ซึ่งคอยประจำการอยู่ชายแดนเหนือใน[[อำเภอซินเหย่]]เพื่อป้องกันเฉาเชาไว้ที่อ่าว การโจมตีของเฉาในช่วงแรกต่อหลิวเป่ย์ได้ถูกขับไล่ในช่วง[[ยุทธการที่ทุ่งพกบ๋อง]](ค.ศ. 200) ภายหลังจากเสร็จสิ้นในการพิชิตภาคเหนือของจีนใน ค.ศ. 207 เฉาเชาก็หันเหความสนใจไปที่มณฑลจิโจวอย่างเต็มที่ ซึ่งที่นั้นได้เกิดข้อพิพาทเรื่องทายาทผู้สืบทอดขึ้น ภายหลังจากหลิวเปียวได้เสียชีวิตลงในเดือนสิงหาคม ค.ศ. 208 ทายาทที่ได้รับเลือกจากหลิวเปียวคือ [[เล่าจ๋อง|หลิวฉอง]](เล่าจ๋อง) ลูกชายคนเล็กของเขา แต่ลูกชายคนโตของเขาคือ [[เล่ากี๋|หลิวฉี]](เล่ากี๋) ได้ท้าทายเขาจากตำแหน่งผู่ว่าราชการมณฑล ในขณะที่ซุนเฉวียน(ซุนกวน)ได้เข้าโจมตีดินแดนทางตะวันออกของจิงโจว หลิวเป้ย์ได้คาดหวังที่จะแย่งชิงจิโจวด้วยตัวเขาเองและเฉาเชาได้เคลื่อนทัพเพื่อบุกจิโจวจากทางเหนือด้วยกองทัพที่รวมตัวกันอย่างเร่งรีบในเดือนกันยายน การกระทำของเฉาเชาได้ปรากฏแล้วว่าเด็ดขาด: หลิวฉองได้ยอมจำนนต่อเขาโดยปราศจากต่อสู้ขัดขืน ในขณะที่หลิวเป้ย์ได้หลบหนีไปทางใต้ แต่เกิดความล่าช้าเพราะมีผู้อพยพจำนวนมาก กองกำลังทหารระดับชั้นนำจำนวน 5,000 นายของเฉาเชาได้ติดตามไล่ล่าหลิวเป่ย์เพื่อหมายจะจับกุมและเอาชนะเขาได้ใน[[ยุทธการที่สะพานเตียงปันเกี้ยว]] ซึ่งเข้ายึดขบวนสัมภาระและขบวนผู้อพยพ ส่วนหลิวเป้ย์เองได้หลบหนีไปทางตะวันออกได้อย่างหวุดหวิดพร้อมกับสหายผู้ร่วมเดินทางจำนวนหนึ่งได้เข้าสมทบกับหลิวฉีที่ Fankou และส่ง[[จูกัดเหลียง|จู่เก่อเลี่ยง]](จูกัดเหลียง) เพื่อเจรจาเพื่อเป็นพันธมิตรกับซุนเฉวียน ซึ่งในที่สุดก็ยอมตกลงที่จะเข้าร่วมกองกำลัง เฉาเชาได้ควบคุมส่วนใหญ่ของ[[แม่น้ำแยงซี]]โดยยึดฐานทัพเรือจิงหลิง และออกคำสั่งให้กองทัพส่วนใหญ่ให้แล่นเรือไปตามแม่น้ำสู่ชื่อปี้(ผาแดง) ในขณะที่กองทัพที่เหลือได้กรีฑาทัพทางบก เพื่อเอาชนะพันธมิตรที่ถูกสร้างขึ้นมาใหม่อย่างรวดเร็วเพียงครั้งเดียว
ภายหลังความปราชัยของอ้วนเสี้ยวที่กัวต๋อใน ค.ศ. 200 โจโฉบีบบังคับให้เล่าปี่หลบหนีไปหา[[เล่าเปียว]]ผู้ว่าราชการมณฑลแห่งเกงจิ๋ว แล้วไปประจำการอยู่ชายแดนเหนือใน[[อำเภอซินเอี๋ย]]เพื่อป้องกันโจโฉไว้ที่อ่าว การโจมตีของเโจโฉในช่วงแรกต่อเล่าปี่ได้ถูกขับไล่ในช่วง[[ยุทธการที่ทุ่งพกบ๋อง]] (ค.ศ. 200) ภายหลังจากเสร็จสิ้นในการพิชิตภาคเหนือของจีนใน ค.ศ. 207 โจโฉก็หันเหความสนใจไปที่มณฑลเกจิ๋วอย่างเต็มที่ ซึ่งที่นั้นได้เกิดข้อพิพาทเรื่องทายาทผู้สืบทอดขึ้น ภายหลังจากเล่าเปียวเสียชีวิตลงในเดือนสิงหาคม ค.ศ. 208 ทายาทที่ได้รับเลือกจากหลิวเปียวคือ[[เล่าจ๋อง]] ลูกชายคนเล็กของเขา แต่ลูกชายคนโตของเขาคือ[[เล่ากี๋]]ท้าทายเขาจากตำแหน่งผู่ว่าราชการมณฑล ในขณะที่ซุนกวนเข้าโจมตีดินแดนทางตะวันออกของเกงจิ๋ว เล่าปี่คาดหวังที่จะแย่งชิงเกจิ๋วด้วยตัวเขาเองและโจโฉได้เคลื่อนทัพเพื่อบุกเกจิ๋วจากทางเหนือด้วยกองทัพที่รวมตัวกันอย่างเร่งรีบในเดือนกันยายน การกระทำของโจโฉได้ปรากฏแล้วว่าเด็ดขาด เล่าจ๋องยอมจำนนต่อเขาโดยปราศจากต่อสู้ขัดขืน ในขณะที่เล่าปี่หลบหนีไปทางใต้ แต่เกิดความล่าช้าเพราะมีผู้อพยพจำนวนมาก กองกำลังทหารระดับชั้นนำจำนวน 5,000 นายของโจโฉได้ติดตามไล่ล่าเล่าปี่เพื่อหมายจะจับกุมและเอาชนะเขาได้ใน[[ยุทธการที่เตียงปัน]] ซึ่งเข้ายึดขบวนสัมภาระและขบวนผู้อพยพ ส่วนเล่าปี่เองหลบหนีไปทางตะวันออกได้อย่างหวุดหวิดพร้อมกับสหายผู้ร่วมเดินทางจำนวนหนึ่งได้เข้าสมทบกับเล่ากี๋ที่แฮเค้า และส่ง[[จูกัดเหลียง]]เพื่อเจรจาเพื่อเป็นพันธมิตรกับซุนกวน ซึ่งในที่สุดก็ยอมตกลงที่จะเข้าร่วมกองกำลัง โจโฉได้ควบคุมพื้นที่ส่วนใหญ่ของ[[แม่น้ำแยงซี]]โดยยึดฐานทัพเรือกังเหลง และออกคำสั่งให้กองทัพส่วนใหญ่ให้แล่นเรือไปตามแม่น้ำสู่เซ็กเพ็ก (ผาแดง) ในขณะที่กองทัพที่เหลือได้กรีฑาทัพทางบก เพื่อเอาชนะพันธมิตรที่ถูกสร้างขึ้นมาใหม่อย่างรวดเร็วเพียงครั้งเดียว


=== ยุทธนาวีที่ผาแดง ===
=== ยุทธการที่เซ็กเพ็ก ===
{{Main|ยุทธการที่เซ็กเพ็ก}}
{{Main|ยุทธนาวีที่ผาแดง}}ในยุทธนาวีที่ผาแดงในช่วงฤดูหนาว ค.ศ. 208 กองทัพของเฉาเชาได้พ่ายแพ้ให้กับกลุ่มพันธมิตรระหว่างหลิวเป้ย์และ[[ซุนกวน]](ซึ่งต่อมาได้สถาปนา[[จ๊กก๊ก|รัฐฉู่ฮ่น]]และ[[ง่อก๊ก|รัฐตงอู๋]]ตามลำดับ กลายเป็นคู่ปรับคนสำคัญของเขาในการรวบรวมแผ่นดินจีนให้เป็นหนึ่งอีกครั้ง) แม้ว่าจะมีกองทัพจำนวนมากมาย กองทัพทางเหนือก็ต้องหมดเรี่ยวแรงจากการเดินทัพ มีแนวโน้มว่าจะเจ็บป่วยในสภาพอากาศทางใต้ที่ไม่คุ้นชิน และเกิดอาการเมาเรือบนกองเรือแม่น้ำ(ซึ่งพวกเขาได้พยายามแก้ไขปัญหานี้โดยการผูกติดเรือเข้าด้วยกัน) ในขณะที่ฝ่ายซุนโดยเฉพาะอย่างทหารที่ยังคงมีความสดใหม่และมีประสบการณ์ในการทำสงครามทางแม่น้ำ แม่ทัพฝ่ายพันธมิตร หวงก้าย(อุยกาย) ได้แสร้งสวามิภักดิ์แก่ฝ่ายเหนือ แต่ได้ใช้ประโยชน์จากข้อเท็จจริงที่เรือของฝ่ายเฉาถูกล่ามโซ่ติดเข้าไว้ด้วยกันเพื่อทำลายพวกเขาด้วยเรือติดไฟ ในขณะเดียวกัน การโจมตีด้วยการยกพลขึ้นบกของฝ่ายพันธมิตรภายใต้การนำโดย[[จิวยี่|โจวหยี]](จิวยี่) บนเส้นทางสู่กองทัพทางบกของเฉาเชาที่ Wulin (烏林)


ในยุทธการที่เซ็กเพ็ก (ผาแดง) ในช่วงฤดูหนาว ค.ศ. 208 กองทัพของโจโฉพ่ายแพ้ให้กับทัพพันธมิตรของ[[เล่าปี่]]และ[[ซุนกวน]] (ซึ่งต่อมาได้สถาปนา[[จ๊กก๊ก]]และ[[ง่อก๊ก]]ตามลำดับ กลายเป็นคู่ปรับคนสำคัญของเขาในการรวบรวมแผ่นดินจีนให้เป็นหนึ่งอีกครั้ง) แม้ว่าจะมีกองทัพจำนวนมากมาย กองทัพทางเหนือก็ต้องหมดเรี่ยวแรงจากการเดินทัพ มีแนวโน้มว่าจะเจ็บป่วยในสภาพอากาศทางใต้ที่ไม่คุ้นชิน และเกิดอาการเมาเรือบนกองเรือแม่น้ำ(ซึ่งพวกเขาได้พยายามแก้ไขปัญหานี้โดยการผูกติดเรือเข้าด้วยกัน) ในขณะที่ฝ่ายซุนกวนโดยเฉพาะอย่างทหารที่ยังคงมีความสดใหม่และมีประสบการณ์ในการทำสงครามทางแม่น้ำ แม่ทัพฝ่ายพันธมิตร [[อุยกาย]]แสร้งสวามิภักดิ์แก่ฝ่ายเหนือ แต่ได้ใช้ประโยชน์จากข้อเท็จจริงที่เรือของฝ่ายโจโฉถูกล่ามโซ่ติดเข้าไว้ด้วยกันเพื่อทำลายพวกเขาด้วยเรือติดไฟ ในขณะเดียวกัน การโจมตีด้วยการยกพลขึ้นบกของฝ่ายพันธมิตรภายใต้การนำโดย[[จิวยี่]]บนเส้นทางสู่กองทัพทางบกของโจโฉที่ฮัวหลิม (烏林 ''อูหลิน'')
ตลอดช่วง ค.ศ. 209 และ ค.ศ. 210 ผู้บัญชาการทหารของเฉาเชาได้มีส่วนร่วมในความพยายามป้องกันฝ่ายซุนเฉวียน ใน[[ยุทธการที่กังเหลง (ค.ศ. 208)|ยุทธการที่เจียงหลิง]](กังเหลง) และ[[ยุทธการที่อิเหลง (208)|อี้หลิง]](อิเหลง) ผู้บัญชาการทหารของเฉาเชาในภาคเหนือของจิง(เช่น [[โจหยิน|เฉาเหริน]](โจหยิน)) ได้ต่อสู้รบกับซุนเฉวียน พวกเขาได้ประสบความสำเร็จแบบผสม และเฉาเชาสามารถรักษาอาณาเขตบางส่วนไว้ในทางเหนือของมณฑล ในเวลาเดียวกัน พวกเขาได้หยุดยั้งการโจมตีที่เหอเฟ่ย์และปราบปรามการก่อจลาจลในหลู่ซึ่งกองกำลังของซุนเฉวียนได้พยายามให้ความช่วยเหลือ ป้องกันไม่ให้ซุนเฉวียนจากการมุ่งเข้าโจมตีที่ Shouchun อย่างไรก็ตาม ผู้บัญชาการทหารของเฉาเชาในทางใต้ของจิง ได้ถูกตัดขาดจากส่วนที่เหลือของกองกำลังของเฉาเชา ซึ่งได้ยอมสวามิภักดิ์แก่หลิวเป้ย์ ในช่วงแรก หลิวฉีได้สืบทอดตำแหน่งต่อจากบิดาในฐานะผู้ตรวจการแห่งมณฑลจิงโจว แต่กลับเสียชีวิตลงใน ค.ศ. 209 ภายหลังจากนั้นซุนเฉวียนได้แต่งตั้งให้หลิวเป้ย์เป็นผู้ว่าราชการแห่งมณฑลจิงโจว และให้เข้าพิธีวิวาท์กับ[[ซุนฮูหยิน|ซุนซ่างเซียง]] น้องสาวของตนเพื่อประสานสัมพันธ์ความเป็นพันธมิตรร่วมกัน


ตลอดช่วง ค.ศ. 209 และ ค.ศ. 210 ผู้บัญชาการทหารของโจโฉได้มีส่วนร่วมในความพยายามป้องกันฝ่ายซุนกวน ใน[[ยุทธการที่กังเหลง (ค.ศ. 208)|ยุทธการที่กังเหลง]]และ[[ยุทธการที่อิเหลง (208)|อิเหลง]] ผู้บัญชาการทหารของโจโฉในภาคเหนือของเกงจิ๋ว (เช่น [[โจหยิน]]) ได้ต่อสู้รบกับซุนกวน พวกเขาได้ประสบความสำเร็จแบบผสม และโจโฉสามารถรักษาอาณาเขตบางส่วนไว้ในทางเหนือของมณฑล ในเวลาเดียวกัน พวกเขาได้หยุดยั้งการโจมตีที่หับป๋าและปราบปรามการก่อจลาจลในหลู่ซึ่งกองกำลังของซุนกวนได้พยายามให้ความช่วยเหลือ ป้องกันไม่ให้ซุนกวนจากการมุ่งเข้าโจมตีที่ฉิวฉุน อย่างไรก็ตาม ผู้บัญชาการทหารของโจโฉในทางใต้ของจเกงจิ๋ว ได้ถูกตัดขาดจากส่วนที่เหลือของกองกำลังของโจโฉ ซึ่งได้ยอมสวามิภักดิ์แก่เล่าปี่ ในช่วงแรก เล่ากี๋ได้สืบทอดตำแหน่งต่อจากบิดาในฐานะผู้ตรวจการแห่งมณฑลเกงจิ๋ว แต่กลับเสียชีวิตลงใน ค.ศ. 209 ภายหลังจากนั้นซุนกวนได้แต่งตั้งให้เล่าปี่เป็นผู้ว่าราชการแห่งมณฑลเกงจิ๋ว และให้เข้าพิธีวิวาท์กับ[[ซุนฮูหยิน]] น้องสาวของตนเพื่อประสานสัมพันธ์ความเป็นพันธมิตรร่วมกัน
== การทัพในตะวันตกเฉียงเหนือ (ค.ศ. 211-220)และทิวงคต ==

== การทัพในตะวันตกเฉียงเหนือ (ค.ศ. 211-220) และถึงแก่พิราลัย ==
[[ไฟล์:Cao exp200-220.png|200px|thumb|
[[ไฟล์:Cao exp200-220.png|200px|thumb|
{{Legend|#0000FF|ดินแดนของเฉาเชาใน ค.ศ. 206}}
{{Legend|#0000FF|ดินแดนของโจโฉใน ค.ศ. 206}}
{{Legend|RoyalBlue|ดินแดนทีถูกพิชิตโดยเฉาเชา ค.ศ. 207–215}}
{{Legend|RoyalBlue|ดินแดนทีถูกพิชิตโดยโจโฉ ค.ศ. 207–215}}
{{Legend|LimeGreen|ขุนศึกคนอื่น ๆ}}]]
{{Legend|LimeGreen|ขุนศึกคนอื่น ๆ}}]]


ในค.ศ. 211 สถานการณ์ในทางใต้เริ่มมีเสถียรภาพและเฉาเชาได้ตัดสินใจที่จะบดขยี้ศัตรูที่เหลืออยู่ในภาคเหนือ ไปทางตะวันตกของ[[ฉางอัน]](ในจังหวัดจั่วผิงยี่) ในจังหวัดฮั่นจงบนแม่น้ำฮัน ในภาคเหนือของยีโจว [[เตียวฬ่อ|จางลู่]](เตียวฬ่อ) ซึ่งปกครองที่นั่น ในการก่อกบฏต่อต้านราชวงศ์ฮั่น ดำเนินการปกครองรัฐตามระบอบของตนเอง เฉาเชาได้ส่ง[[จงฮิว|จงเหยา]](จงฮิว) พร้อมทั้งกองทัพเพื่อบีบบังคับให้จางลู่ยอมสวามิภักดิ์ อย่างไรก็ตาม สิ่งนี้ได้รบกวนขุนศึกจำนวนหนึ่งในหุบเขาแม่น้ำเหว่ย และมณฑลเหลียงที่กว้างขวาง ซึ่งถูกรวบรวมภายใต้กำมือของ[[หันซุย]]และ[[ม้าเฉียว|หม่าเชา]](ม้าเฉียว) เพื่อต้านทานเฉาเชา ซึ่งเชื่อว่าการกรีฑาทัพเข้าโจมตีจางลู่ของเขานั้น มีเป้าหมายมาที่พวกเขาโดยตรง เฉาเชาได้นำกองทัพด้วยตนเองในการต่อสู้รบกับพันธมิตรกลุ่มนี้ และเอาชนะด้วยกลอุบายต่อกองทัพฝ่ายกบฏในแต่ละรอบใน[[ยุทธการที่ด่านตงก๋วน]] พันธมิตรได้แตกแยกกันและผู้นำหลายคนถูกสังหาร เฉาเชาได้ใช้เวลาหนึ่งหรือสองเดือนถัดมาในการไล่ล่าผู้นำบางคน ซึ่งมีหลายคนได้ยอมสวามิภักดิ์ต่อเขา เขาได้ทิ้ง[[แฮหัวเอี๋ยน|เซี่ยโหวเยวีย]](แฮหัวเอี๋ยน)เพื่อสะสางงานในภูมิภาคและเดินทางกลับบ้านใน ค.ศ. 212 ใน ค.ศ. 213 เขาได้เปิดฉากการบุกครองในดินแดนของซุนเฉวียนโดยข้ามแม่น้ำฮวย แต่กลับพ่ายแพ้ในยุทธการที่หลู่ซู ซึ่งเป็นการยืนยันถึงการควบคุมทางใต้ของซุนเฉวียน
ในค.ศ. 211 สถานการณ์ในทางใต้เริ่มมีเสถียรภาพและโจโฉได้ตัดสินใจที่จะบดขยี้ศัตรูที่เหลืออยู่ในภาคเหนือ ไปทางตะวันตกของ[[ฉางอัน|เตียงฮัน]](ในเมืองจั่วผิงอี้) ในเมืองฮันต๋งบนแม่น้ำฮั่นซุย ในภาคเหนือของมณฑลเอ๊กจิ๋ว [[เตียวฬ่อ]]ซึ่งปกครองที่นั่นในการก่อกบฏต่อต้านราชวงศ์ฮั่น ดำเนินการปกครองรัฐตามระบอบของตนเอง โจโฉส่ง[[จงฮิว]]พร้อมทั้งกองทัพเพื่อบีบบังคับให้เตียวฬ่อยอมสวามิภักดิ์ อย่างไรก็ตาม สิ่งนี้ได้รบกวนขุนศึกจำนวนหนึ่งในหุบเขาแม่น้ำอุยโห และมณฑลเลียงจิ๋วที่กว้างขวาง ซึ่งถูกรวบรวมภายใต้กำมือของ[[หันซุย]]และ[[ม้าเฉียว]]เพื่อต้านทานโจโฉ ซึ่งเชื่อว่าการกรีฑาทัพเข้าโจมตีเตียวฬ่อของเขานั้น มีเป้าหมายมาที่พวกเขาโดยตรง โจโฉนำกองทัพด้วยตนเองในการต่อสู้รบกับพันธมิตรกลุ่มนี้ และเอาชนะด้วยกลอุบายต่อกองทัพฝ่ายกบฏในแต่ละรอบใน[[ยุทธการที่ด่านตงก๋วน]] พันธมิตรได้แตกแยกกันและผู้นำหลายคนถูกสังหาร โจโฉใช้เวลาหนึ่งหรือสองเดือนถัดมาในการไล่ล่าผู้นำบางคน ซึ่งมีหลายคนได้ยอมสวามิภักดิ์ต่อเขา เขาได้ทิ้ง[[แฮหัวเอี๋ยน]]เพื่อสะสางงานในภูมิภาคและเดินทางกลับบ้านใน ค.ศ. 212 ใน ค.ศ. 213 เขาได้เปิดฉากการบุกครองในดินแดนของซุนกวนโดยข้ามแม่น้ำห้วย แต่กลับพ่ายแพ้ในยุทธการที่ยี่สู ซึ่งเป็นการยืนยันถึงการควบคุมทางใต้ของซุนกวน


ใน ค.ศ. 213 เฉาเชาได้รับการแต่งตั้งตำแหน่งยศศักดิ์เป็น "วุยก๋ง"(魏公) และได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เก้าขั้นและสิบหัวเมืองให้เขาได้ปกครอง เป็นที่รู้จักกันคือ เว่ย์ ในปีเดียวกัน เขาได้กรีฑาทัพทางใต้และเข้าโจมตีหลู่ซู ขุนพลของซุนเฉวียนนามว่า Lu Meng([[ลิบอง]]) ได้หยุดยั้งการโจมตีได้ประมาณเดือนหนึ่ง และเฉาเชาก็ต้องล่าถอยไปในที่สุด ใน ค.ศ. 215 เฉาเชาได้เคลื่อนทัพและเข้ายึดครองฮั่นจง(ฮันต๋ง) ใน ค.ศ. 216 เฉาเชาได้รับเลื่อนตำแหน่งยศศักดิ์ในฐานะอ๋องศักดินา-"วุยอ๋อง"(魏王) ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา เฉาเชา หลิวเป่ย์ และซุนเฉวียนยังคงรวบรวมอำนาจไว้ในภูมิภาคของตนอย่างต่อเนื่อง แม้ว่าผ่านสงครามหลายครั้ง จีนได้ถูกแบ่งออกเป็นสามอำนาจ ได้แก่ เว่ย์(วุย) ฉู่(จ๊ก) และอู๋(ง่อ) ซึ่งได้ต่อสู้ในสมรภูมิอย่างเป็นระยะๆ โดยปราศจากการเสียสมดุลอย่างเห็นได้ชัดเจนในการสนับสนุนของใครก็ตาม ข้อยกเว้นเพียงอย่างเดียวคือกองกำลังของหลิวเป้ย์สามารถเข้ายึดครองฮั่นจงมาจากกองทัพของเฉาเชา ภายหลังจากการทัพที่ใช้เวลาสามวัน[[ไฟล์:Cao Wei Dynasty fresco, Luoyang.jpg|thumb|จิตรกรรมฝาผนังของสุสานใน[[ลั่วหยาง]]ซึ่งอยู่ในช่วงสมัย[[วุยก๊ก|เฉาเว่ย์]](ค.ศ. 220-266) ซึ่งแสดงให้เห็นถึงชายที่นั่งอยู่ซึ่งสวม[[ฮั่นฝู]] ซึ่งเป็นเสื้อคลุมยาวที่ทำมาจากผ้าไหม]]
ใน ค.ศ. 213 โจโฉได้รับยศขุนนางเป็น "วุยก๋ง" (魏公 ''เว่ยกง'') และได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เก้าขั้นและสิบหัวเมืองอยู่ในปกครอง เป็นที่รู้จักกันคือวุย (''เว่ย์'') ในปีเดียวกัน เขาได้กรีฑาทัพทางใต้และเข้าโจมตียี่สู ขุนพลของซุนกวนนามว่า[[ลิบอง]]หยุดยั้งการโจมตีได้ประมาณเดือนหนึ่ง และโจโฉก็ต้องล่าถอยไปในที่สุด ใน ค.ศ. 215 โจโฉเคลื่อนทัพและเข้ายึดครองฮันต๋ง ในปี 216 โจโฉได้เลื่อนยศขึ้นเป็นเจ้าสืบตระกูล "วุยอ๋อง" (魏王 ''เว่ย์หวัง'') ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา โจโฉ เล่าปี่ และซุนกวนยังคงรวบรวมอำนาจไว้ในภูมิภาคของตนอย่างต่อเนื่อง แม้ว่าผ่านสงครามหลายครั้ง จีนได้ถูกแบ่งออกเป็นสามอำนาจ ได้แก่ วุย จ๊ก และง่อ ซึ่งได้ต่อสู้ในสมรภูมิอย่างเป็นระยะๆ โดยปราศจากการเสียสมดุลอย่างเห็นได้ชัดเจนในการสนับสนุนของใครก็ตาม ข้อยกเว้นเพียงอย่างเดียวคือกองกำลังของเล่าปี่สามารถเข้ายึดครองฮันต๋งมาจากกองทัพของโจโฉ ภายหลังจากการทัพที่ใช้เวลาสามวัน
[[ไฟล์:Cao Wei Dynasty fresco, Luoyang.jpg|thumb|จิตรกรรมฝาผนังของสุสานใน[[ลกเอี๋ยง]]ซึ่งอยู่ในช่วงสมัย[[วุยก๊ก]](ค.ศ. 220-266) ซึ่งแสดงให้เห็นถึงชายที่นั่งอยู่ซึ่งสวม[[ฮั่นฝู]] ซึ่งเป็นเสื้อคลุมยาวที่ทำมาจากผ้าไหม]]
ใน ค.ศ. 220 เฉาเชาได้ทิวงคตในลั่วหยาง เมื่อมีอายุได้เพียง 66 ปี โดยไม่สามารถรวบรวมแผ่นดินจีนให้เป็นหนึ่งภายใต้การปกครองของเขา ซึ่งถูกสันนิษฐานว่า "ป่วยเป็น[[โรคปวดศีรษะ]]" เขาได้สั่งเสียไว้ว่า ให้ฝังศพไว้ใกล้กับสุสานแห่ง Ximen Bao ในเย่ว์ โดยปราศจากสมบัติต่าง ๆ ได้แก่ [[ทอง]]และ[[อัญมณี|อัญมนี]]หยก และสั่งให้ทหารของตนที่คอยประจำการในชายแดน ให้ประจำตำแหน่งอยู่ในที่ของพวกเขาและไม่อนุญาตให้พวกเขาได้เข้าร่วมพิธีศพตามคำพูดของเขาว่า "ประเทศยังไม่มั่นคง"


ในปี 220 โจโฉได้ถึงแก่พิราลัยในลกเอี๋ยง ขณะมีอายุ 66 ปี โดยไม่สามารถรวบรวมแผ่นดินจีนให้เป็นหนึ่งภายใต้การปกครองของเขา ซึ่งถูกสันนิษฐานว่า "ป่วยเป็น[[โรคปวดศีรษะ]]" เขาได้สั่งเสียไว้ว่า ให้ฝังศพไว้ใกล้กับสุสานแห่งซีเหมินเป้าในเย่ว์ โดยปราศจากสมบัติต่าง ๆ ได้แก่ [[ทอง]]และ[[อัญมณี|อัญมนี]]หยก และสั่งให้ทหารของตนที่คอยประจำการในชายแดน ให้ประจำตำแหน่งอยู่ในที่ของพวกเขาและไม่อนุญาตให้พวกเขาได้เข้าร่วมพิธีศพตามคำพูดของเขาว่า "ประเทศยังไม่มั่นคง"
[[โจผี|เฉา ผี]](โจผี) ลูกชายคนโตของเฉาเชาได้สืบทอดตำแหน่งต่อบิดา ภายในหนึ่งปี เฉา ผีได้บีบบังคับให้จักรพรรดิฮั่นเซี่ยนให้สละราชบัลลังก์และประกาศตั้งตนเองเป็นจักรพรรดิองค์แรกของรัฐเฉาเว่ย์ เฉาเชาได้รับพระราชสมัญญานามภายหลังมรกรรมว่า จักรพรรดิอู๋ มหาบรรพบุรุษ (魏太祖武皇帝).

[[โจผี]] ลูกชายคนโตของโจโฉ ได้สืบยศขุนนางต่อจากบิดา หลังจากนั้นหนึ่งปี โจผีบีบบังคับพระเจ้าเหี้ยนเต้ให้สละราชสมบัติ และประกาศตั้งตนเองเป็นจักรพรรดิองค์แรกของวุยก๊ก ในการนี้ โจโฉได้รับการเฉลิมพระยศขึ้นเป็น "วุยไท่จูอู่ฮ่องเต้" (魏太祖武皇帝)


=== สุสานหลวงโจโฉ ===
=== สุสานหลวงโจโฉ ===
ในวันที่ [[28 ธันวาคม]] [[ค.ศ. 2009]] ทางการจีนประกาศว่าได้ขุดค้นพบสุสานที่เชื่อว่าน่าจะเป็นของโจโฉ ที่เมือง[[อันหยาง]] [[มณฑลเหอหนาน]] ตอนกลางของประเทศจีน โดยสุสานมีอาณาบริเวณ 740 [[ตารางเมตร]] มี[[โครงกระดูก]]ของชายที่น่าจะเสียชีวิตในอายุราว 60 ปี ซึ่งคาดว่าน่าจะเป็นโจโฉ และโครงกระดูกของผู้หญิงอีก 2 ซึ่งน่าจะเป็นมเหสี และป้ายศิลาจารึกพระนามของโจโฉ<ref>{{Cite web |url=http://www.thaipost.net/news/291209/15671 |title=จีนขุดพบสุสาน'โจโฉ'อายุ 2 พันปี |access-date=2009-12-28 |archive-date=2010-04-03 |archive-url=https://web.archive.org/web/20100403220148/http://www.thaipost.net/news/291209/15671 |url-status=dead }}</ref>
28 ธันวาคม 2009 ทางการจีนประกาศว่าได้ขุดค้นพบสุสานที่เชื่อว่าน่าจะเป็นของโจโฉ ที่เมือง[[อันหยาง]] [[มณฑลเหอหนาน]] ตอนกลางของประเทศจีน โดยสุสานมีอาณาบริเวณ 740 [[ตารางเมตร]] มี[[โครงกระดูก]]ของชายที่น่าจะเสียชีวิตในอายุราว 60 ปี ซึ่งคาดว่าน่าจะเป็นโจโฉ และโครงกระดูกของผู้หญิงอีก 2 ซึ่งน่าจะเป็นมเหสี และป้ายศิลาจารึกพระนามของโจโฉ<ref>{{Cite web |url=http://www.thaipost.net/news/291209/15671 |title=จีนขุดพบสุสาน'โจโฉ'อายุ 2 พันปี |access-date=2009-12-28 |archive-date=2010-04-03 |archive-url=https://web.archive.org/web/20100403220148/http://www.thaipost.net/news/291209/15671 |url-status=dead }}</ref>

== ฐานันดรศักดิ์ ==
* '''ค.ศ. 196''' : อู่ผิงฮอ (武平侯 "ท้าวพระยาอู่ผิง")
* '''ค.ศ. 213''' : วุยก๋ง (魏公 "เจ้าพระยาวุย")
* '''ค.ศ. 216''' : วุยอ๋อง (魏王 "เจ้าฟ้าวุย")
* '''ค.ศ. 220''' : วุยไท่จู่อู่ฮ่องเต้ (魏太祖武皇帝 "จักรพรรดิโยธินวุยไท่จู่") (เฉลิมพระยศหลังพิราลัย)


== พระราชวงศ์ ==
== พระราชวงศ์ ==
* '''พระราชบิดา''' [[โจโก๋]]
* '''พระบิดา''' [[โจโก๋]]
* '''พระปิตุลา''' [[โจเต๊ก]]
* '''พระปิตุลา''' [[โจเต๊ก]]
* '''พระมเหสี'''
* '''ภริยา'''
** [[เต็งฮูหยิน]]
** [[เต็งฮูหยิน]]
** เล่าชี
** เล่าชี
** เล่าฮูหยิน
** เล่าฮูหยิน
** [[เปียนซี|พระนางเปียนซี]] (武宣卞皇后) พระมารดาของ [[โจผี]] และ [[โจเฮา|โจเซี่ย]]
** [[เปียนซี|พระนางเปียนซี]] (武宣卞皇后) มารดาของ[[โจผี]] และ[[โจเฮา|โจเซี่ย]]
** พระมเหสีหลิง (丁夫人
** เจ้าคุณพระหลิง (丁夫人)
** พระมเหสีหลิว (劉夫人)
** เจ้าคุณพระหลิว (劉夫人)
** พระมเหสีอัน (環夫人)
** เจ้าคุณพระอัน (環夫人)
** พระมเหสีหลู (杜夫人)
** เจ้าคุณพระหลู (杜夫人)
** พระมเหสีฉิน (秦夫人)
** เจ้าคุณพระฉิน (秦夫人)
** พระมเหสีซิน(尹夫人)
** เจ้าคุณพระซิน(尹夫人)
** พระมเหสีหวัง (王昭儀)
** เจ้าจอมหวัง (王昭儀)
** พระสนมซุน (孫姬)
** หม่อมซุน (孫姬)
** พระสนมหลี่ (李姬)
** หม่อมหลี่ (李姬)
** พระสนมโซว (周姬)
** หม่อมโซว (周姬)
** พระสนมเล่า (劉姬)
** หม่อมเล่า (劉姬)
** พระสนมซ่ง (宋姬)
** หม่อมซ่ง (宋姬)
** พระสนมโซว (趙姬)
** หม่อมโซว (趙姬)
** พระสนมเฉิน (陳妾)
** นางเฉิน (陳妾)


=== '''พระราชโอรส''' ===
=== '''พระราชโอรส''' ===
บรรทัด 255: บรรทัด 260:
* โจโฉเป็นตัวละครในเกมซีรีส์ ''[[Dynasty Warriors]]'' โดยจัดเป็นหัวหน้าแห่ง[[วุยก๊ก]] และปรากฏในทุกๆเกมของซีรีส์ อาทิ Dynasty Warriors 1 ถึง Dynasty Warriors 8 ในเกมทุกซีรีส์ที่กล่าวมา ฝ่ายโจโฉจะเป็นฝ่ายสีน้ำเงิน
* โจโฉเป็นตัวละครในเกมซีรีส์ ''[[Dynasty Warriors]]'' โดยจัดเป็นหัวหน้าแห่ง[[วุยก๊ก]] และปรากฏในทุกๆเกมของซีรีส์ อาทิ Dynasty Warriors 1 ถึง Dynasty Warriors 8 ในเกมทุกซีรีส์ที่กล่าวมา ฝ่ายโจโฉจะเป็นฝ่ายสีน้ำเงิน
* โจโฉเป็นตัวละครในเกมซีรีส์ ''Romance of the Three Kingdoms'' ซึ่งสามารถเล่นบงการตัวละครโจโฉได้ สามารถอยู่ในตำแหน่งต่างกันออกไปได้ อาทิ เจ้าเมือง ผู้ครองแคว้น ไปตลอดจนถึงฮ่องเต้ ซึ่งฝ่ายโจโฉมักปรากฏเป็นสีฝ่ายน้ำเงิน ในตัวเกมนั้น โจโฉถือว่ามีความสามารถสูงกว่าตัวละครอื่นๆอย่างมาก ทั้งในด้านการรบ มนุษย์สัมพันธ์ ความรู้ และกลยุทธ์ต่างๆ
* โจโฉเป็นตัวละครในเกมซีรีส์ ''Romance of the Three Kingdoms'' ซึ่งสามารถเล่นบงการตัวละครโจโฉได้ สามารถอยู่ในตำแหน่งต่างกันออกไปได้ อาทิ เจ้าเมือง ผู้ครองแคว้น ไปตลอดจนถึงฮ่องเต้ ซึ่งฝ่ายโจโฉมักปรากฏเป็นสีฝ่ายน้ำเงิน ในตัวเกมนั้น โจโฉถือว่ามีความสามารถสูงกว่าตัวละครอื่นๆอย่างมาก ทั้งในด้านการรบ มนุษย์สัมพันธ์ ความรู้ และกลยุทธ์ต่างๆ

== รายชื่อบุคคลที่ถูกโจโฉสังหาร ==
* '''[[แปะเฉีย]]''' พี่น้องร่วมสาบานของโจโก๋บิดาของโจโฉ ตอนแรกสังหารคนที่บ้านแปะเฉียเพราะเข้าใจผิด เมื่อหนีจากบ้านแปะเฉีย พบกับแปะเฉียระหว่างทาง จึงฆ่าแปะเฉียเสีย
* '''[[โฮงี]]''' [[โจรโพกผ้าเหลือง]]
* '''[[อุยเซียว]]''' [[โจรโพกผ้าเหลือง]]
* '''[[หันอิ้น]]''' ขุนนางของอ้วนสุด ที่ลิโป้ส่งให้มาตัดสินโทษ
* '''[[อองเฮา]]''' นายกองเสบียงของตนเอง
* '''[[ลิฮอง]]'''
* '''[[งักจิว]]''' ขุนพล[[อ้วนสุด]]
* '''[[เลียงกอง]]''' ขุนพลอ้วนสุด
* '''[[ตันกี๋]]''' ขุนพลอ้วนสุด
* '''[[หลันเป้ง]]''' ขุนพล[[ลิโป้]]
* '''[[โกซุ่น]]''' ขุนพลของลิโป้
* '''[[ตันก๋ง]]''' ที่ปรึกษาของลิโป้
* '''[[ลิโป้]]'''
* '''[[เอียวงัน]]'''
* '''[[เกียดเป๋ง]]''' แพทย์ประจำราชสำนัก คิดคบกับตังสินคิดฆ่าโจโฉ จึงวางแผนวางยาโจโฉ แต่โจโฉรู้ตัวก่อน เพราะบ่าวของตังสินมาบอกความลับ
* '''[[ตังสิน]]''' เสนาบดีคนหนึ่งของพระเจ้าเหี้ยนเต้ เป็นผู้ริเริ่มก่อการล้มล้างอำนาจของโจโฉตามราชโองการเลือด โดยร่วมมือกับหมอเกียดเป๋ง จูฮก จูลัน ตันอิบ โงห้วน ม้าเท้ง และเล่าปี่ แต่แผนการก็รั่วไหล เพราะเคงต๋องบ่าวคนสนิทนำความลับไปบอกโจโฉซะก่อน
* '''[[จูฮก]]''' ผู้ร่วมก่อการกับตังสิน
* '''[[จูลัน]]''' ผู้ร่วมก่อการกับตังสิน
* '''[[ตันอิบ]]''' ผู้ร่วมก่อการกับตังสิน
* '''[[โงห้วน]]''' ผู้ร่วมก่อการกับตังสิน
* '''[[พระสนมตังกุยฮุย]]และพระราชบุตรในครรภ์''' น้องสาวของตังสิน พระสนมใน[[จักรพรรดิฮั่นเซี่ยน|สมเด็จพระจักรพรรดิฮั่นเซี่ยนเต้]] ซึ่งโจโฉกำจัดเพื่อไม่ให้เหลือไว้เป็นเสี้ยนหนามรวมถึงลูกในท้องที่ยังไม่เกิด แม้[[จักรพรรดิฮั่นเซี่ยน|สมเด็จพระจักรพรรดิฮั่นเซี่ยนเต้]]ขอชีวิตเด็กไว้ แต่โจโฉไม่ยอมละเว้นให้
* '''[[ชีสิว]]''' ที่ปรึกษาของอ้วนเสี้ยว
* '''[[สิมโพย]]''' ที่ปรึกษาของอ้วนเสี้ยว
* '''[[ขงหยง]]'''
* '''[[ชัวมอ]]''' แม่ทัพของ[[เล่าเปียว]]ที่มาสวามิภักดิ์ต่อโจโฉ ถูกโจโฉสั่งประหารด้วยอุบายของจิวยี่
* '''[[เตียวอุ๋น]]''' แม่ทัพของเล่าเปียวที่มาสวามิภักดิ์ต่อโจโฉ ถูกโจโฉสั่งประหารด้วยอุบายของ[[จิวยี่]]เช่นเดียวกับ[[ชัวมอ]]
* '''[[ม้าฮิว]]''' บุตรชายของม้าเท้ง น้องชายของ[[ม้าเฉียว]]
* '''[[ม้าเท้ง]]''' เจ้าเมือง[[เสเหลียง]] เป็นหนึ่งในผู้ร่วมก่อการล้มล้างโจโฉของตังสิน และเป็นบิดาของ[[ม้าเฉียว]]กับม้าฮิว
* '''[[อุยกุ๋ย]]''' ผู้ร่วมก่อการโจมตีฮูโต๋กับม้าเท้ง แต่นางลิซุนเอี๋ยงเมียน้อยกับเบียวเต๊กน้องเมียหลวงแอบเอาความลับไปขายให้โจโฉก่อน
* '''[[เบียวเต๊ก]]''' น้องเมียหลวงของอุยกุ๋ย และเป็น[[ชู้รัก]]ของ[[นางลิซุนเอี๋ยง]]
* '''[[ฮกอ้วน]]''' คิดก่อการร่วมมือกับเล่าปี่สังหารโจโฉ แต่แผนรั่วไหลเสียก่อน
* '''[[ฮกเฮา|พระนางฮกเฮา]]''' บุตรสาวของฮกอ้วน พระอัครมเหสี (ฮองเฮา) [[จักรพรรดิฮั่นเซี่ยน|สมเด็จพระจักรพรรดิฮั่นเซี่ยนเต้]]
* '''[[บอกสุ้น]]''' ขันทีในราชสำนักที่ส่งจดหมายลับของ[[ฮกเฮา|พระนางฮกเฮา]]ไปให้[[ฮกอ้วน]]
* '''[[เกงจี]]''' หัวหน้ากบฏที่ก่อการลอบสังหารอองปิด และเผาเมืองฮูโต๋ต่อต้านโจโฉ โดยร่วมมือกับอุยหอง กิมหัน เกียดบก เกียดเมา แต่ก็ถูกปราบโดยแฮหัวตุ้นซะก่อน
*'''[[อุยหอง]]''' ผู้ร่วมก่อการกับเกงจี
*
* '''[[เอียวสิ้ว]]''' นายทหารของตน
* '''[[ฮัวโต๋]]''' หมอเทวดา


{{คอมมอนส์|曹操}}
{{คอมมอนส์|曹操}}
บรรทัด 309: บรรทัด 274:
{{เริ่มกล่อง}}
{{เริ่มกล่อง}}
{{สืบตำแหน่ง
{{สืบตำแหน่ง
| ก่อนหน้า = -
| ก่อนหน้า = สถาปนาตำแหน่งใหม่
| ตำแหน่ง = [[จักรพรรดิจีน]]
| ตำแหน่ง = [[วุยก๊ก|วุยอ๋อง (''เว่ย์หวัง'')]]
| ปี = ค.ศ. 216 – 220
| ราชวงศ์ = วุยก๊ก
| ถัดไป = [[โจผี]]
| ปี = แต่งตั้งหลังสิ้นพระชนม์แล้ว
}}
| ถัดไป = [[โจผี|พระเจ้าโจผี]]
{{สืบตำแหน่ง
| ก่อนหน้า = ว่าง <br/><small>ดำรงตำแหน่งล่าสุด<br/>[[ตั๋งโต๊ะ]]<br/>(ในฐานะอัครมหาเสนาบดีแห่งรัฐ)
| ตำแหน่ง = [[อัครมหาเสนาบดี (ประเทศจีน)|อัครมหาเสนาบดี]]<br/>แห่ง[[ราชวงศ์ฮั่น]]
| ปี = ค.ศ. 208 – 220
| ถัดไป = [[โจผี]]
}}
}}
{{จบกล่อง}}
{{จบกล่อง}}
บรรทัด 326: บรรทัด 296:
[[หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 3]]
[[หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 3]]
[[หมวดหมู่:อัครมหาเสนาบดีจีน]]
[[หมวดหมู่:อัครมหาเสนาบดีจีน]]
[[หมวดหมู่:ขุนศึก]]
[[หมวดหมู่:ขุนศึกชาวจีน]]

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 21:04, 8 มิถุนายน 2567

โจโฉ (เฉา เชา)
ภาพโจโฉจาก สมุดภาพไตรภูมิ (三才圖會) ซึ่งเผยแพร่ในราชวงศ์หมิงเมื่อ ค.ศ. 1609
อัครมหาเสนาบดี (丞相 เฉิงเซี่ยง)
วาระค.ศ. 208 – 15 มีนาคม ค.ศ. 220
ถัดไปโจผี
จักรพรรดิพระเจ้าเหี้ยนเต้
เจ้ากรมโยธา (司空 ซือคง)
วาระค.ศ. 196–208
จักรพรรดิพระเจ้าเหี้ยนเต้
พระราชสมภพค.ศ. 155
อำเภอเฉียว รัฐเพ่ย์ จักรวรรดิฮั่น
สวรรคต15 มีนาคม ค.ศ. 220 (64–65 ปี)
ลั่วหยาง จักรวรรดิฮั่น
ฝังพระศพ11 เมษายน ค.ศ. 220
สุสานหลวงของโจโฉ
คู่อภิเษก
พระราชบุตร
รายละเอียด
พระนามเต็ม
ชื่อสกุล: เฉา/โจ (曹)
ชื่อตัว: เชา/โฉ (操)
ชื่อรอง: เมิ่งเต๋อ (孟德)
ชื่อเล่น: อาหมาน (阿瞞), จี๋ลี่ (吉利)
พระสมัญญานาม
  • พระเจ้าอู่ (武王)
  • จักรพรรดิอู่ (武帝)
พระอารามนาม
ไท่จู่ (太祖)
พระราชบิดาโจโก๋
พระราชมารดาติงชื่อ
ศาสนาลัทธิขงจื๊อ

โจโฉ ในภาษาฮกเกี้ยน (จีน: 曹操; เป่อ่วยยี: Chô Chhò) หรือ เฉา เชา ในภาษาจีนกลาง (พินอิน: Cáo Cāo; ค.ศ. 155 – 15 มีนาคม ค.ศ. 220)[1] มีชื่อรองว่า เมิ่งเต๋อ (จีน: 孟德; พินอิน: Mèng dé) เป็นรัฐบุรุษ ขุนศึก และกวีชาวจีน เป็นอัครมหาเสนาบดีแห่งราชวงศ์ฮั่นตะวันออก ซึ่งได้เถลิงอำนาจในช่วงปลายราชวงศ์ฮั่น ในฐานะที่เป็นบุคคลสำคัญคนหนึ่งในยุคสามก๊ก โจโฉได้วางรากฐานซึ่งได้ทำให้เกิดรัฐวุยก๊กขึ้นในเวลาต่อมา และได้รับการยกย่องภายหลังมรณกรรมในฐานะเป็น "จักรพรรดิอู่แห่งวุยก๊ก" แม้ว่าเขาจะไม่เคยประกาศตนเองอย่างเป็นทางการว่าเป็นจักรพรรดิจีน หรือโอรสสวรรค์ วรรณกรรมสมัยหลังมักพรรณาว่า โจโฉเป็นทรราชโหดร้ายไร้เมตตา แต่โจโฉก็ได้รับการยกย่องว่า เป็นผู้ปกครองที่ปราดเปรื่อง เป็นอัจฉริยบุคคลด้านการทหาร มีบารมีหาที่เปรียบมิได้ ปฏิบัติต่อผู้ใต้บัญชาดุจครอบครัวของตัว[ต้องการอ้างอิง]

ในช่วงที่ราชวงศ์ฮั่นตะวันออกล่มสลาย โจโฉสามารถควบคุมท้องที่ส่วนใหญ่ในภาคเหนือของจีนซึ่งมีประชากรมากที่สุด ทั้งยังฟื้นฟูความเรียบร้อยและเศรษฐกิจเป็นผลสำเร็จในฐานะอัครมหาเสนาบดี แต่การที่โจโฉเชิดพระเจ้าเหี้ยนเต้นั้น โดยตนเองบัญชาราชการแผ่นดินเบ็ดเสร็จอยู่เบื้องหลังพระองค์นั้น ถูกวิพากษ์วิจารณ์หนัก การต่อต้านโดยตรงนั้นมาจากขุนศึกเล่าปี่กับซุนกวนซึ่งโจโฉมิอาจปราบลงได้

โจโฉยังมีความสามารถด้านกวีนิพนธ์ อักษรวิจิตร และศิลปะการต่อสู้ ทั้งได้ฝากงานเขียนมากมายในด้านการทหารเอาไว้ ซึ่งรวมถึงอรรถาธิบาย ซุนจื่อปิงฝ่า โจโฉยังเป็นที่จดจำในฐานะผู้ปกครองที่โดดเด่นที่สุดคนหนึ่งของจักรวรรดิจีน

ประวัติ

[แก้]

ช่วงชีวิตตอนต้น

[แก้]

โจโฉเกิดที่เจากุ๋น (เฉียวเซี่ยน) ราชรัฐไพก๊ก (เพ่ย์กํ๋ว; ปัจจุบันคือเมืองปั๋วโจว มณฑลอานฮุย) ในปี ค.ศ. 155[2] บิดาของโจโฉคือโจโก๋ (เฉา ซง) เป็นบุตรบุญธรรมของโจเท้ง (เฉา เถิง) ผู้ซึ่งกลายเป็นขันทีคนโปรดของพระเจ้าฮวนเต้ (ฮั่นหฺวันตี้) ในบางบันทึกประวัติศาสตร์ รวมถึงชีวประวัติเฉาหมัน (เฉาหมันจฺวั้น) อ้างว่า ชื่อตระกูลแต่เดิมของโจโก๋คือแฮหัว (เซี่ยโหว) และเขาเป็นญาติของแฮหัวตุ้น (เซี่ยโหว ตุน)

โจโฉเป็นที่รู้จักกันในเรื่องของความเจ้าเล่ห์เพทุบายของเขาในช่วงวัยหนุ่ม ตามชีวประวัติเฉาหมันได้กล่าวว่า อาของโจโฉมักจะฟ้องกับโจโก๋ว่า โจโฉชอบออกไปเที่ยวล่าสัตว์และเล่นดนตรีกับอ้วนเสี้ยว (ยฺเหวียน เช่า) สหายของเขา จนถูกบิดาต่อว่า เพื่อเป็นการแก้เผ็ด โจโฉจึงแสร้งทำเป็นลมชักต่อหน้าอาของเขา จนต้องรีบแจ้นไปตามโจโก๋ เมื่อโจโก๋รีบมาหาบุตรชายของตน โจโฉก็ทำตัวตามปกติ เมื่อถูกบิดาถาม โจโฉบอกว่า "ข้าไม่ได้เป็นอะไรสักหน่อย แต่ท่านอาคงจะเกลียดข้าที่มักจะชอบนำเรื่องของข้าไปบอกท่านอยู่เรื่อยเลย" หลังจากนั้นโจโก๋ก็ไม่สนใจน้องชายที่มาฟ้องเรื่องของโจโฉอีกเลย และด้วยเหตุนี้ โจโฉจึงกลายเป็นคนโอ้อวดและยืนกรานในการงานที่ดื้อดึงของเขา

ในช่วงเวลานั้น มีชายผู้หนึ่งนามว่าเขาเฉียว (สฺวี่ เช่า) ชาวเมืองยีหลำ (หรู่หนาน) มีชื่อเสียงจากความสามารถของเขาทางด้านศาสตร์โหงวเฮ้งคือการมองลักษณะบนใบหน้าของบุคคลเพื่อประเมินศักยภาพและพรสวรรค์ของบุคคลคนนั้น โจโฉได้ไปเยี่ยมเขาด้วยความคาดหวังว่าจะได้รับการดูโหงวเฮ้งของตนเพื่อประเมินความสามารถที่จะช่วยเหลือในอาชีพการเมือง ในตอนแรกเขาเฉียวปฏิเสธที่บอกกล่าว อย่างไรก็ตาม ก็ถูกซักถามอย่างไม่ลดละ จนในที่สุดเขาก็ยอมบอกว่า "ในยามสงบสุข ท่านจะเป็นขุนนางที่มีความสามารถมาก ในยามกลียุค ท่านจะเป็นบุรุษที่มีความโหดเหี้ยมไร้เมตตา"[3] โจโฉก็หัวเราะชอบใจและเดินจากไป ความคิดเห็นเหล่านี้มีสองแบบในบันทึกทางประวัติศาสตร์ฉบับอื่น ๆ ที่ไม่เป็นทางการ

การรับราชการช่วงต้นและกบฏโพกผ้าเหลือง (ค.ศ. 175-188)

[แก้]

เมื่ออายุได้ 20 ปี โจโฉได้รับการแต่งตั้งให้เป็นหัวหน้ากองทหารรักษานครในลกเอี๋ยง (ลั่วหยัง) ในช่วงที่รับตำแหน่ง เขาได้นำกระบองหลากสีมาปักไว้ด้านนอกสำนักงานของเขา และออกคำสั่งให้เจ้าหน้าที่ลงโทษเฆี่ยนตีผู้ละเมิดกฎหมายโดยไม่คำนึงถึงยศตำแหน่งฐานะใด ๆ ลุงของเกียนสิด (เจี่ยน ชั่ว) หนึ่งในขันทีที่ทรงอิทธิพลและมีอำนาจมากที่สุดภายใต้อำนาจของพระเจ้าเลนเต้ (หลิงตี้) ถูกจับกุมเพราะเดินเตร่ในเมืองซึ่งเป็นช่วงห้ามออกนอกจากเคหสถานตอนกลางคืนโดยทหารของโจโฉและถูกโบยเฆี่ยนตี สิ่งนี้ได้ทำให้เกียนสิดและผู้มีอำนาจระดับสูงคนอื่น ๆ รีบส่งเสริมให้โจโฉได้เข้ารับตำแหน่งเป็นผู้ว่าราชการแห่งอำเภอตุนขิว (ตุ้นชิว) ในขณะที่ได้ทำการย้ายเขาออกจากเมืองหลวง โจโฉยังคงอยู่ในตำแหน่งนี้มานานกว่าหนึ่งปี จนกระทั่งถูกปลดออกจากตำแหน่งใน ค.ศ. 178 เนื่องจากครอบครัวของเขาที่อยู่ห่างไกลมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับจักรพรรดินีซ่ง พระมเหสีคนแรกของพระเจ้าเลนเต้ซึ่งเป็นที่เสื่อมเสียพระเกียรติ ราวปี ค.ศ. 180 โจโฉได้กลับมายังราชสำนักในฐานะที่ปรึกษา (議郎) และนำเสนอบันทึกสองฉบับเพื่อต่อต้านอิทธิพลของขันทีในราชสำนักและการทุจริตในการปกครองในช่วงที่เขาดำรงตำแหน่ง โดยมีผลที่จำกัด

เมื่อกบฏโพกผ้าเหลืองก่อการในปี ค.ศ. 184 โจโฉได้ถูกเรียกตัวกลับมาที่ลกเอี๋ยงและแต่งตั้งให้เป็นนายกองทหารม้า (騎都尉 ฉีตูเว่ย์) และถูกส่งไปยังเมืองเองฉวน (อิ่งชวน) ในมณฑลอิจิ๋ว (อวี้โจว) เพื่อเข้าปราบปรามพวกกบฏ โจโฉประสบความสำเร็จในการปราบกบฏและถูกส่งไปเป็นเสนาบดี (相 เซียง) ของราชรัฐเจลำ (จี่หนัน) เพื่อขัดขวางการขยายอิทธิพลของกลุ่มโจรโพกผ้าเหลือที่นั่น ที่เจลำ โจโฉได้ประกาศบังคับสั่งห้ามลัทธินอกรีตอย่างจริงจัง ทำลายศาลเจ้า และให้การสนับสนุนลัทธิขงจื๊อ โจโฉถูกตระกูลชั้นนำในท้องถิ่นไม่พอใจในการกระทำดังกล่าว จึงลาออกโดยอ้างว่าป่วยในราวปี ค.ศ. 187 ด้วยความกลัวว่าจะทำให้ครอบครัวต้องตกอยู่ในอันตราย โจโฉได้รับเสนอตำแหน่งเป็นเจ้าเมืองแห่งเมืองตงกุ๋น (東郡 ตงจฺวิ้น) แต่โจโฉปฏิเสธและเดินทางกลับบ้านที่ไพก๊ก ในช่วงเวลานั้น หวัง เฟิน (王芬) ได้พยายามชักชวนโจโฉให้เข้าร่วมในการก่อรัฐประหารเพื่อแย่งชิงราชบัลลังก์ของพระเจ้าเลนเต้ โดยผลตอบแทนคือจะแต่งตั้งตำแหน่งยศศักดิ์ให้เป็นเหอเฟยโหฺว แต่โจโฉปฏิเสธ แผนลับได้ล้มเหลวและหวัง เฟินก็ต้องปลิดชีพตนเอง

แนวร่วมพันธมิตรต่อต้านตั๋งโต๊ะ (ค.ศ. 189-191)

[แก้]
สรุปเหตุการณ์ที่สำคัญในช่วงชีวิตของโจโฉ
ค.ศ. 155 เกิดที่อำเภอเจากุ๋น
180s นำกองทหารเข้าปราบปรามกบฏโพกผ้าเหลืองที่เมืองเองฉวน
190 เข้าร่วมกับแนวร่วมพันธมิตรต่อต้านต่งจั่ว.
196 รับเสด็จพระเจ้าเหี้ยนเต้มาประทับที่นครฮูโต๋
200 เอาชนะในยุทธการที่กัวต๋อ
208 พ่ายแพ้ในยุทธการที่ผาแดง
213 ได้รับสถาปนาเป็นวุยก๋ง และได้รับพระราชทานสิบเมืองให้ปกครอง
216 ได้รับตำแหน่งยศศักดิ์เป็นวุยอ๋อง
220 เสียชีวิตในลกเอี๋ยง
ได้รับพระราชสมัญญานามภายหลังมรกรรมในฐานะจักรพรรดิอู่

ภายหลังจากออกจากราชการเป็นเวลาสิบแปดเดือน โจโฉได้กลับมายังเมืองหลวงลกเอี๋ยงในปี ค.ศ. 188 ปีนั้น ได้รับการแต่งตั้งเป็นนายกองผู้จัดการทัพ (典軍校尉 เตี่ยวจวินเซี่ยวเว่ยย์) หัวหน้าที่สี่ในแปดของกองทัพแห่งราชอุทยานตะวันตก ซึ่งเป็นกองทัพจักรวรรดิที่เพิ่งจัดตั้งขึ้นมาใหม่ ประสิทธิภาพของกองทัพใหม่นี้ไม่เคยถูกทำการทดสอบ เนื่องจากได้ถูกยุบยกเลิกไปในปีถัดมา

ในปี ค.ศ. 189 พระเจ้าเลนเต้สวรรคตและพระราชบุตรองค์โต (จักรพรรดิฮั่นเช่า) สืบทอดราชบัลลังก์ แม้ว่าอำนาจรัฐส่วนใหญ่จะถูกควบคุมโดยโฮเฮาและที่ปรึกษาของพระนาง พี่ชายของโฮเฮาและแม่ทัพใหญ่นามว่า โฮจิ๋น(เหอจิ้น) ได้วางแผนร่วมกับอ้วนเสี้ยว ในการกำจัดสิบขันที (กลุ่มขันทีที่มีอิทธิพลในราชสำนัก) โฮจิ๋นได้เรียกตั๋งโต๊ะ (ต่งจั๋ว) ขุนพลที่ช่ำชองของมณฑลเลียงจิ๋ว (เหลียงโจว) ให้นำกองทัพเข้าสู่ลกเอี๋ยงเพื่อกดดันโฮเฮาให้มอบอำนาจ ด้วยข้อกล่าวหาที่อาจหาญของ "ความชั่วช้า" ของตั๋งโต๊ะ แต่ก่อนที่ตั๋งโต๊ะจะเดินทางมาถึง โฮจิ๋นก็ถูกลอบสังหารโดยขันทีและลกเอี๋ยงตกอยู่ในท่ามกลางความโกลาหล ในขณะที่การต่อสู้กับขันทีภายใต้การสนับสนุนของอ้วนเสี้ยว กองทัพของตั๋งโต๊ะได้กำจัดฝ่ายค้านภายในบริเวณพระราชวังอย่างง่ายดาย ภายหลังจากที่เขาได้ปลดจักรพรรดิฮั่นเช่าลงจากราชบัลลังก์ ต่งจั่วได้สถาปนาให้พระเจ้าเหี้ยนเต้ (ฮั่นเซี่ยนตี้) ขึ้นครองราชบัลลังก์ในฐานะหุ่นเชิด เนื่องจากเขามองว่า พระเจ้าเหี้ยนเต้มีความสามารถและชาญฉลาดมากกว่าจักรพรรดิฮั่นเช่า

ภายหลังจากได้ปฏิเสธข้อเสนอในการแต่งตั้งของตั๋งโต๊ะ โจโฉได้ออกจากลกเอี๋ยงมายังตันลิว (เฉินหลิว ทางตะวันออกของไคเฟิง มณฑลเหอหนานในยุคปัจจุบัน ซึ่งเป็นบ้านเกิดของโจโฉ) ซึ่งเขาได้จัดตั้งกองทัพขึ้นมา ในปีต่อมา เหล่าขุนศึกภูมิภาคได้ก่อตั้งพันธมิตรทางทหารภายใต้การนำโดยอ้วนเสี้ยวเพื่อต่อต้านตั๋งโต๊ะ โจโฉได้เข้าร่วมด้วย กลายเป็นหนึ่งในสมาชิกเพียงไม่กี่คนที่ร่วมต่อสู้อย่างแข็งขันของแนวร่วมพันธมิตร แม้ว่าเหล่าขุนศึกจะเข้าปลดปล่อยเมืองหลวงลกเอี๋ยงได้แล้ว ราชสำนักของตั๋งโต๊ะได้อพยพไปยังตะวันตกสู่เตียงฮัน (ฉางอัน) ที่เป็นเมืองหลวงเก่า โดยพาพระเจ้าเหี้ยนเต้เสด็จไปด้วย แนวร่วมพันธมิตรได้ล่มสลายภายหลังจากปราศจากความเคลื่อนไหวมาเป็นเวลาหลายเดือน และจีนได้เข้าสู่สงครามกลางเมือง ในขณะที่ตั๋งโต๊ะถูกสังหารโดยลิโป้ (ลฺหวี่ ปู้) ใน ค.ศ. 192

ขยายดินแดน(ค.ศ. 191-199)

[แก้]
แผนที่ได้แสดงให้เห็นถึงขุนศึกคนสำคัญของราชวงศ์ฮั่นในช่วงต้น ค.ศ. 190 รวมทั้งเฉาเชา

การพิชิตมณฑลกุนจิ๋ว (ค.ศ. 191-195)

[แก้]

โจโฉยังคงขยายอำนาจของตนโดยการทำสงครามระยะสั้นและระดับภูมิภาค ใน ค.ศ. 191 โจโฉได้รับการแต่งตั้งให้เป็นเจ้าเมืองของเมืองตองกุ๋น (ตงจวิ้น) ในตันลิว สิ่งนี้ได้เกิดขึ้นภายหลังจากที่เขาได้ประสบความสำเร็จในการปราบหัวหน้าโจรนามว่า ไป๋ เร่า และอ้วนเสี้ยวได้แต่งตั้งให้โจโฉเป็นเจ้าเมืองเข้ามาแทนที่หวัง หง ซึ่งไร้ความสามารถ เขาได้ขจัดซ่องโจร และเมื่อข้าหลวงมณฑลของกุนจิ๋ว (เหยี่ยนโจว) เล่าต้าย (หลิว ไต้) ได้เสียชีวิตลงในปีถัดมา โจโฉได้รับเชิญจากเปาสิ้นและเจ้าหน้าที่คนอื่น ๆ ให้เป็นเจ้ามณฑลของกุนจิ่ว และจัดการกับการก่อการกำเริบของโจกโพกผ้าเหลืองในเฉงจิ๋ว (ชิงโจว) ซึ่งเข้าโจมตีกุนจิ๋ว แม้ว่าจะพบความปราชัยหลายครั้ง โจโฉก็สามารถปราบกบฏได้ภายในสิ้นปี ค.ศ. 192 โดยผ่านทางการเจรจากับพวกเขา และได้รับทหารเพิ่มเติมจำนวนสามหมื่นนายเข้าสู่กองทัพ ในช่วงต้นปี ค.ศ. 193 โจโฉและอ้วนเสี้ยวรบกับอ้วนสุด (ยฺเหวียน ซู่) ผู้เป็นลูกพี่ลูกน้องของอ้วนเสี้ยวในการรบหลายครั้ง เช่น ที่เฟิงชิว ซึ่งได้ขับไล่เขาไปที่แม่น้ำห้วย

โจโก๋ (เฉา ซง) บิดาของเฉาเชาถูกสังหารในช่วงฤดูใบไม้ร่วง ค.ศ. 193 โดยเตียวคี (จาง ไข่) ทหารของโตเกี๋ยม(เถา เชียน) เจ้ามณฑลแห่งชีจิ๋ว (สฺวีโจว) (ผู้อ้างว่าตนบริสุทธิ์ และผู้สังหารโจโก๋นั้นเดิมเป็นโจร) ด้วยความโกรธแค้น โจโฉได้ทำการสังหารหมู่พลเรือนหลายพันคนในชีจิ๋วในช่วงการทัพลงทัณฑ์สองครั้งใน ค.ศ. 193 และ ค.ศ. 194 เพื่อล้างแค้นให้กับบิดาของเขา เนื่องจากเขาได้นำกองทัพของเขาจำนวนมากมาย มายังชีจิ๋วเพื่อเอาชนะโตเกี๋ยม ดินแดนส่วนใหญ่ของเขาจึงไร้การป้องกัน เจ้าหน้าที่นายทหารที่ไม่พอใจจำนวนหนึ่งนำโดยตันก๋ง (เฉิน กง) และเตียวเถียว (จาง เชา) ได้ร่วมมือวางแผนก่อกบฏ พวกเขาได้โน้มน้าวให้เตียวเมา (จาง เหมี่ยว; พี่ชายของเตียวเถียว) ขึ้นมาเป็นผู้นำของพวกตนและขอให้ลิโป้เข้ามาเป็นการเสริมกำลัง ตันก๋งเชิญลิโป้ให้มาเป็นข้าหลวงมณฑลคนใหม่แห่งกุนจิ๋ว ลิโป้ได้ตอบรับคำเชิญนี้และนำกองกำลังทหารเข้าไปในมณฑล นับตั้งแต่กองทัพโจโฉไม่อยู่ ผู้บัญชาการท้องถิ่นหลายคนต่างคิดว่าการต่อสู้รบครั้งนี้จะต้องพ่ายแพ้และยอมจำนนต่อลิโป้ทันทีเมื่อเขาเดินทางมาถึง แต่อย่างไรก็ตาม มีเพียงสามอำเภอ ได้แก่ เอียนเสีย (เจวี้ยนเฉิง) ตองไฮ (ตงอา) และฮวนกวน (ฟ่านเซี่ยน) ยังคงจงรักภักดีต่อโจโฉ เมื่อโจโฉเดินทางกลับมาถึง เขาได้รวบรวมกองกำลังของเขาไว้ที่เอียนเสีย

ตลอดช่วงปี ค.ศ. 194 และ ค.ศ. 195 โจโฉและลิโป้ได้ต่อสู้รบกันหลายครั้งเพื่อแย่งชิงการควบคุมกุนจิ๋ว แม้ว่าในตอนแรกลิโป้จะทำได้ดีในถือครองปักเอี้ยง (ผู่หยาง) โจโฉก็เอาชนะเกือบทั้งหมดด้านนอกของปักเอี้ยง ชัยชนะที่เด็ดขาดของโจโฉเกิดขึ้นในการรบใกล้กับตงหมิง ลิโป้และตันก๋งได้นำกองทัพขนาดใหญ่เข้าโจมตีกองทัพของโจโฉ ในช่วงเวลานั้น โจโฉก็ได้ออกไปพร้อมกองกำลังขนาดเล็กเพื่อเก็บเกี่ยวข้าว เมื่อเห็นลิโป้และตันก๋งเข้ามาใกล้ โจโฉก็ได้ซ่อนกองกำลังของเขาไว้ในป่าและแนวหลังเขื่อน จากนั้นเขาก็ส่งกองกำลังขนาดเล็กเข้าไปประจัญหน้ากับกองทัพของลิโป้ เมื่อกองกำลังทั้งสองได้รับมอบหมาย เขาได้ออกคำสั่งให้กองกำลังทหารที่ซ่อนตัวอยู่ให้เข้าโจมตีทันที กองทัพของลิโป้ถูกทำลายล้างจากการโจมตีครั้งนี้และทหารของเขาจำนวนมากได้หลบหนีไป

ลิโป้และตันก๋งต่างหลบหนีออกจากการสู้รบครั้งนั้น เนื่องจากชีจิ๋วในตอนนี้ได้อยู่ภายใต้บัญชาการของเล่าปี่ (หลิว เป้ย) และเล่าปี่เคยเป็นศัตรูของโจโฉมาก่อน พวกเขาจึงได้มาหลบหนีไปยังชีจิ๋วเพื่อความปลอดภัย โจโฉตัดสินใจที่จะไม่ไล่ล่าตามหาพวกเขา แต่กลับไปริเริ่มกวาดล้างผู้จงรักภักดีของลิโป้ในกุนจิ๋ว รวมทั้งการเข้ายึดครองดินแดนเหล่านั้น สิบแปดเดือนหลังการก่อกบฏได้เริ่มต้นขึ้น โจโฉได้ปราบเตียวเมาและครอบครัว และเข้ายึดครองกุนจิ๋วกลับคืนมาภายในช่วงปลายปี ค.ศ. 195

ช่วยเหลือจักรพรรดิ (ค.ศ. 196)

[แก้]

โจโฉได้ย้ายกองบัญชาการของเขาในช่วงต้น ค.ศ. 196 จากปักเอี้ยงไปยังนครฮูโต๋ (許 สฺวี่, ปัจจุบันคือ สฺวี่ชาง) ซึ่งเขาได้สร้างดินแดนอาณานิคมเกษตรกรรมทางทหารสำหรับการตั้งถิ่นฐานของผู้อพยพและจัดหาเสบียงอาหารมาให้แก่กองทัพของเขา

ราวประมาณเดือนสิงหาคม ค.ศ. 196 พระเจ้าเหี้ยนเต้เสด็จกลับสู่ลกเอี๋ยงภายใต้การคุ้มกันของเอียวฮองและ ตังสิน โจโฉเข้าเฝ้าพระเจ้าเหี้ยนเต้ในช่วงฤดูใบไม้ร่วง ค.ศ. 196 และโน้มน้าวให้พระองค์ย้ายเมืองหลวงไปยังนครฮูโต๋ตามคำแนะนำของ ซุนฮกและที่ปรึกษาคนอื่น ๆ เนื่องจากนครลกเอี๋ยงได้ถูกทำลายเสียหายโดยสงครามและเตียงฮันไม่ได้อยู่ภายใต้การควบคุมทางทหารของโจโฉ เขาได้รับการแต่งตั้งเป็น เจ้ากรมโยธา (ภายหลังจากได้เจรจากับอ้วนเสี้ยว ผู้บังคับบัญชาในนามของเขา) และเจ้ากรมการไพร่ (司隸 ซือลี่) ได้รับพระราชอำนาจในเพียงนามในการควบคุมมณฑลราชธานี (ซือลี่) นอกจากนี้ โจโฉยังได้รับตำแหน่งแม่ทัพใหญ่ (大將軍 ต้าเจียงจฺวิน) และยศขุนนางเป็น อู่ผิงโหฺว (武平侯) แม้ว่าทั้งสองตำแหน่งยศศักดิ์นี้ได้ถูกนำไปใช้จริงได้เพียงเล็กน้อย ในขณะที่บางคนได้มองว่า จักรพรรดิเป็นหุ่นเชิดภายใต้การควบคุมของโจโฉ แต่โจโฉได้ยึดมั่นตามกฏเกณฑ์ส่วนบุคคลที่เข้มงวดจนกระทั่งเขาเสียชีวิต ซึ่งเป็นที่แน่ชัดแล้วว่าเขาไม่ได้ต้องการแย่งชิงราชบัลลังก์ เมื่อที่ปรึกษาของเขาได้กระซิบมาบอกเขาว่า ให้โค่นล้มราชวงศ์ฮั่นและเริ่มต้นราชวงศ์ใหม่ด้วยตัวท่านเอง แต่เขาได้ตอบกลับว่า "หากฟ้าสวรรค์ได้มอบชะตาลิขิตเช่นนี้ให้กับข้า ข้าขอเป็นแบบอย่างจิวบุนอ๋อง (โจฺวเหวินหวัง) ก็พอ"

เพื่อรักษาความสัมพันธ์ที่ดีกับอ้วนเสี้ยว ซึ่งกลายเป็นขุนศึกที่ทรงอำนาจมากที่สุดในแผ่นดินจีน เมื่อเขาได้รวบรวมสี่มณฑลทางตอนเหนือของจีนเข้าด้วยกัน โจโฉพยายามเจรจาเกลี้ยมกล่อมว่าจะแต่งตั้งให้อ้วนเสี้ยวเป็นรัฐมนตรีโยธาธิการ อย่างไรก็ตาม สิ่งนี้ได้ส่งผลตรงกันข้าม เนื่องจากอ้วนเสี้ยวเชื่อว่าโจโฉต้องการที่จะทำให้ตนได้รับความอับอาย เนื่องจากตำแหน่งรัฐมนตรีโยธาธิการนั้นเป็นตำแหน่งที่ต่ำกว่าแม่ทัพใหญ่ที่โจโฉดำรงตำแหน่งอยู่ ดังนั้นจึงปฏิเสธข้อเสนอในการรับตำแหน่งนี้ เพื่อเป็นการปลอบใจแก่อ้วนเสี้ยว โจโฉได้เสนอตำแหน่งของตนเองให้กับเขา ในขณะที่เขาจะดำรงตำแหน่งเป็นรัฐมนตรีโยธาธิการเอง แม้ว่าสิ่งนี้จะแก้ไขข้อขัดแย้งได้ชั่วคราว แต่ก็เป็นตัวเร่งกระตุ้นก่อให้เกิดยุทธการที่กัวต๋อในเวลาต่อมา

การต่อสู้รบกับเตียวสิ้ว อ้วนสุด และลิโป้ (ค.ศ. 197-198)

[แก้]

เล่าเปียวเป็นขุมอำนาจในสมัยนั้น ซึ่งครองมณฑลเกงจิ๋วเอาไว้ทั้งหมด เกงจิ๋วมีความเจริญรุ่งเรืองมาโดยตลอด แต่ที่เติบโตขึ้นมาได้เพราะมีผู้อพยพจำนวนมากที่ลี้ภัยจากสงครามทางเหนือและอพยพลงทางใต้ ดังนั้นเล่าเปียวจึงถือว่าเป็นภัยคุกคามต่อโจโฉ เตียวสิ้วซึ่งบัญชาการในดินแดนของเล่าเปียวบนชายแดนติดกับอาณาเขตของโจโฉ ดังนั้นโจโฉต้องการที่จะโจมตีเขา ในช่วงต้นปี ค.ศ. 197 เตียวสิ้วได้ยอมสวามิภักดิ์ต่อโจโฉ แต่กลับเข้าโจมตีค่ายทหารของโจโฉในตอนกลางคืน (ยุทธการที่อ้วนเซีย) ซึ่งได้คร่าชีวิตทหารจำนวนมาก รวมทั้งโจงั่งบุตรชายของเฉาเชา และโจโฉจึงต้องหลบหนีไป

ภายหลังจากใช้เวลาเพียงไม่กี่เดือนในการฟื้นฟู โจโฉได้หันความสนใจไปที่อ้วนสุดซึ่งได้ประกาศสถาปนาตัวเองเป็นจักรพรรดิแห่งราชวงศ์ต๋องซือ (จ้งชื่อ) ขึ้นมา ในนามของของการฟื้นฟูราชวงศ์ฮั่น โจโฉและขุนศึกคนอื่น ๆ ได้จัดตั้งแนวร่วมพันธมิตรต่อต้านอ้วนสุด และโจโฉได้เข้ายึดครองดินแดนทั้งหมดของอ้วนสุดจากทางตอนเหนือของแม่น้ำห้วย (ไหฺว) ในฤดูใบไม้ร่วง ค.ศ. 197 ในขณะที่ดินแดนที่เหลืออยู่ของอ้วนสุดได้ประสบภัยแล้งและการเก็บเกี่ยวที่ไม่ดีทำให้อำนาจของเขาลดลงไปอีก

ต่อมาใน ค.ศ. 197 โจโฉได้กลับไปทางใต้เพื่อเข้าโจมตีเล่าเปียวและเตียวสิ้วอีกครั้ง ครั้งนี้ โจโฉประสบความสำเร็จอย่างมากและทำให้สร้างความเสียหายอย่างมากต่อกองทัพของพวกเขา โจโฉได้เข้าโจมตีเตียวสิ้วอีกครั้งใน ค.ศ. 198 ซึ่งนำไปสู่ยุทธการที่หรางเฉิงและเอาชนะอีกครั้ง ในที่สุดเขาก็ต้องถอนกำลังออกจากการสู้รบในครั้งนี้เพราะเขาได้รับข่าวว่า อ้วนเสี้ยวกำลังวางแผนที่จะกรีฑาทัพไปยังนครฮูโต๋ แม้ว่าในภายหลังจะถูกพบว่าข่าวนั้นไม่เป็นความจริงก็ตาม

ในเดือนเมษายน ค.ศ. 198 โจโฉได้ส่งไปปลุกระดมขุนศึกตะวันตกเพื่อเข้าโจมตีเตียงฮัน ซึ่งยังถูกควบคุมโดยลิฉุย ผู้สืบทอดอำนาจต่อจากตั๋งโต๊ะ ตวยอุย (段煨 ตฺวั้น เวย์) หนึ่งในขุนพลผู้อยู่ใต้บังคับบัญชาของลิฉุยได้ก่อกบฏและสังหารลิฉุยพร้อมกับครอบครัวของเขาในช่วงฤดูร้อน ค.ศ. 198 ตวนอุยได้ส่งมอบศีรษะของลิฉุยไปยังนครฮูโต๋ (เพื่อหลักฐานยืนยันในการยอมสวามิภักดิ์ต่อโจโฉ)

ในขณะเดียวกัน ลิโป้ก็กำเริบเสิบสานมากขึ้น เขาขับไล่เล่าปี่ (ซึ่งหลบหนีไปอยู่กับโจโฉ) ออกจากดินแดนของเขาเองอีกครั้งและร่วมมือกับอ้วนสุด เนื่องจากเตียวสิ้วพร้อมกับกองทัพของเขาเพิ่งจะถูกบดขยี้ เขาไม่ได้เป็นภัยคุกคามในทางใต้อีกต่อไป ดังนั้นโจโฉจึงไปทางตะวันออกเพื่อเข้าปราบปรามลิโป้

การพิชิตชีจิ๋วและอิจิ๋ว (ค.ศ. 199)

[แก้]

โจโฉได้เอาชนะลิโป้ในการต่อสู้รบหลายครั้งและในที่สุดก็โอบล้อมไว้ได้ที่แห้ฝือ (เซี่ยพี) ลิโป้ได้พยายามที่จะตีฝ่าออกไปแต่ทำไม่สำเร็จ ในที่สุดเจ้าหน้าที่นายทหารและทหารของเขาจำนวนมากได้แปรพักตร์ให้กับโจโฉ บางคนถูกลักพาตัวโดยผู้ทรยศ ลิโป้ริ่มรู้สึกท้อแท้และยอมจำนนต่อโจโฉ ซึ่งได้ประหารชีวิตเขา เมื่อวันที่ 7 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 199 การกำจัดลิโป้ทำให้โจโฉได้ควบคุมมณฑลชีจิ๋วอย่างมีประสิทธิภาพ

เมื่อลิโป้ได้จากไปแล้ว โจโฉได้เริ่มทำปราบปรามอ้วนสุด เขาส่งเล่าปี่และจูเหลง (จู หลิง) ไปทางใต้เพื่อเข้าโจมตีอ้วนสุด แต่อ้วนสุดเสียชีวิตในช่วงฤดูร้อน ค.ศ. 199 ก่อนที่เล่าปี่และคนอื่น ๆ ได้เดินทางมาถึง ซึ่งหมายความว่า โจโฉก็ไร้ซึ่งคู่ปรับที่สำคัญในภูมิภาคแม่น้ำห้วย (ชีจิ๋วและอิจิ๋ว) อีกต่อไป ในขณะเดียวกัน ในเดือนมีนาคม ค.ศ. 199 อ้วนเสี้ยวได้จบศึกกับกองซุนจ้านในยุทธการที่อี้จิง และวางแผนที่จะเคลื่อนทัพไปทางใต้เพื่อเอาชนะโจโฉ เมื่อเห็นดังนั้น โจโฉได้เริ่มเตรียมความพร้อมการป้องกัน โดยตั้งใจที่จะยืนหยัดที่กัวต๋อ ตามคำแนะนำของกาเซี่ยง เตียวสิ้วยอมสวามิภักด์ต่อโจโฉและกองทัพของเขาได้ถูกรวมเข้ากับกองทัพของโจโฉ ภายหลังจากที่พวกเขาได้ปฏิเสธทูตของอ้วนเสี้ยวเพื่อขอให้มาเป็นพันธมิตรกัน

รวบรวมทางตอนเหนือของจีน(ค.ศ. 200-207)

[แก้]

การทรยศและความพ่ายแพ้ของเล่าปี่

[แก้]

ใกล้สิ้นปี ค.ศ. 199 เล่าปี่ทรยศโจโฉและสังหารกีเหมาผู้บัญชาการทหารของโจโฉในมณฑลชีจิ๋ว อ้างสิทธิ์การเป็นเจ้าของมณฑล โจโฉต้องการที่จะเข้าโจมตีเล่าปี่อย่างรวดเร็วเพื่อไม่ให้กลายเป็นสงครามสองด้าน ในขณะที่บางคนในราชสำนักกังวลว่าอ้วนเสี้ยวจะเข้าโจมตีพวกเขาในไม่ช้า ถ้าหากกองทัพหลักจะเคลื่อนทัพไปทางตะวันออก กุยแกให้ความมั่นใจกับโจโฉว่า อ้วนเสี้ยวจะตอบสนองที่ล่าช้า และโจโฉสามารถจัดการเล่าปี่ได้ หากเขาจัดการได้อย่างรวดเร็ว ตามคำแนะนำของกุยแก โจโฉเข้าโจมตีเล่าปี่และเอาชนะได้อย่างเด็ดขาดในชีจิ๋ว จับกุมกวนอูพร้อมกับสมาชิกครอบครัวของเล่าปี่เมื่อต้นปี ค.ศ. 200 ส่วนเล่าปี่หลบหนีไปอาศัยอยู่กับอ้วนเสี้ยว ซึ่งได้ส่งเพียงแค่ส่วนหนึ่งของกองทัพของเขาเพื่อเข้าโจมตีโจโฉ การจู่โจมครั้งนี้ถูกหยุดยั้งโดยอิกิ๋มในยุทธการที่ท่าข้ามตู้ชื่อในเดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ. 200 เป็นเครื่องหมายของการปะทุของการเปิดฉากสงครามระหว่างโจโฉและอ้วนเสี้ยว

สงครามกับตระกูลอ้วน

[แก้]
การพิชิตดินแดนของโจโฉมาจากตระกูลอ้วน ตั้งแต่ ค.ศ. 200–207

การทัพกัวต๋อ

[แก้]

ใน ค.ศ. 200 อ้วนเสี้ยวกรีฑาทัพไปทางใต้สู่นครฮูโต๋เพื่อหมายจะให้ความช่วยเหลือแก่จักรพรรดิ เขาได้รวบรวมกองทหารจำนวนมากกว่า 110,000 นาย รวมทั้งทหารม้าหนัก 10,000 นาย ในขณะที่โจโฉรวบรวมกองทหารมาได้ประมาณ 40,000 นาย ซึ่งส่วนมากเขาได้รวมกองกำลังไว้ที่กัวต๋อซึ่งเป็นจุดยุทธศาสตร์บนแม่น้ำฮองโห (หฺวางเหอ) กองทัพของโจโฉขับไล่การโจมตีของอ้วนเสี้ยวหลายครั้งและได้รับชับชนะทางยุทธวิธีที่ท่าข้ามตู้ชื่อ (กุมภาพันธ์) แปะเบ๊ (มีนาคม-พฤษภาคม) และท่าข้ามเหยียน (พฤษภาคม-สิงหาคม) กองทัพทั้งสองฝ่ายได้หยุดชะงักลงในยุทธการที่กัวต๋อ(กันยายน-พฤศจิกายน) เนื่องจากทั้งสองฝ่ายไม่สามารถที่รุกคือต่อไปได้มากนัก การขาดแคลนกำลังคนของโจโฉทำให้เขาไม่สามารถโจมตีอย่างมีนัยสำคัญ และความภาคภูมิใจของอ้วนเสี้ยวได้บีบบังคับให้เขาต้องเผชิญหน้ากับกองกำลังของโจโฉอย่างตรงไปตรงมา แม้ว่าเขาจะได้เปรียบทางด้านกำลังคนอย่างท่วมท้น แต่อ้วนเสี้ยวก็ไม่สามารถใช้ทรัยากรของเขาได้อย่างเต็มที่ เนื่อ เนื่องจากความเป็นผู้นำที่ลังเลเอาแน่นอนไม่ได้และตำแหน่งฐานะของเฉาเชา

นอกจากนั้นท่ามกลางสมรภูมิกัวต๋อ ยังมีสองแนวรบที่เกิดขึ้น: แนวรบด้านตะวันออกด้วยกองทัพของอ้วนเสี้ยวภายใต้การนำโดยอ้วนถำ เข้าปะทะกับกองทัพของโจโฉภายใต้การนำโดยจงป้า ซึ่งเป็นสงครามด้านหนึ่งเพื่อสนับสนุนแก่โจโฉ เนื่องจากความเป็นผู้นำที่ต่ำต้อยของอ้วนถำ ไม่คู่ควรกับความรู้ท้องถิ่นของจงป้าและกลยุทธ์แบบเข้าปะทะแล้วหนีของเขา ด้านแนวรบด้านตะวันตก โกกันหลานชายอ้วนเสี้ยวเข้าโจมตีกองทัพของโจโฉได้ดีกว่า และบีบบังคับให้เสริมกำลังหลายครั้งจากค่ายหลักของโจโฉเพื่อรักษาแนวรบด้านตะวันตก เล่าปี่ซึ่งเป็นแขกในกองทัพอ้วนเสี้ยว ได้ให้คำแนะนำในการยุยงปลุกปั่นการก่อกบฏในดินแดนของโจโฉ เนื่องจากผู้ติดตามของอ้วนเสี้ยวจำนวนมากอยู่ในดินแดนของโจโฉ กลยุทธ์นี้ได้ประสบความสำเร็จในช่วงแรก แต่ทักษะทางการทูตของหมันทองช่วยเหลือในการแก้ไขความขัดแย้งแทบจะในทันที หมันทองได้ถูกวางตัวในฐานะเจ้าหน้าที่ด้วยเหตุผลเฉพาะกิจนี้ เนื่องจากโจโฉได้มองเห็นถึงความเป็นไปได้ของการก่อการกำเริบก่อนการสู้รบ โจโฉเข้าตีโฉบฉวบทำลายคลังเสบียงของอ้วนเสี้ยวที่หมู่บ้านกู้ชื่อ ทำให้อ้วนเสี้ยวต้องตั้งคลังเสบียงฉุกเฉินที่อัวเจ๋า ในที่สุดในเดือนที่ 10 เขาฮิวซึ่งเป็นผู้แปรพักตร์จากกองทัพอ้วนเสี้ยว ได้แจ้งบอกแก่โจโฉถึงที่ตั้งของคลังเสบียงแห่งใหม่ของอ้วนเสี้ยว โจโฉทำลายภาวะจนมุมโดยการส่งกองกำลังพิเศษไปที่อัวเจ๋า เพื่อทำการเผาเสบียงทั้งหมดของกองทัพอ้วนเสี้ยว ซึ่งทำให้เกิดเสียขวัญอย่างมาก อ้วนเสี้ยวได้เข้าโจมตีเป็นครั้งสุดท้าย ซึ่งประสบความสูญเสียและล้มเหลวในท้ายที่สุดในกัวต๋อ และเช้าวันรุ่งขึ้น โจโฉได้เปิดฉากการโจมตีแบบไม่ทันตั้งตัวในการทำลายล้างต่อกองทัพข้าศึกที่กำลังล่าถอย ซึ่งทำให้ได้รับชัยชนะที่เด็ดขาดและดูเหมือนว่าจะเป็นชัยชนะที่แทบจะเป็นไปไม่ได้เลย ในการรายงานต่อพระเจ้าเหี้ยนเต้ โจโฉอ้างว่าได้สังหารทหารจำนวนมากว่า 70,000 นายของกองทัพที่มีจำนวนเท่าเดิม 110,000 นายของอ้วนเสี้ยว ภายหลังเขาได้ออกคำสั่งให้นำทหารข้าศึกส่วนใหญ่ที่ถูกจับกุมมาได้ให้ทำการฝังทั้งเป็น ไม่กี่เดือนต่อมา ในเดือนพฤษภาคม หรือ มิถุนายน ค.ศ. 201 โจโฉได้เอาชนะอ้วนเสี้ยวอีกครั้งในยุทธการที่ซองเต๋ง ซึ่งได้กำจัดกองกำลังสุดท้ายในเวลาต่อมา ทางใต้ของแม่น้ำฮองโห

พิชิตดินแดนเหนือ

[แก้]

อ้วนเสี้ยวล้มป่วยได้ไม่นานหลังจากประสบความปราชัย และเสียชีวิตในเดือนมิถุนายน ค.ศ. 202 ซึ่งทิ้งไว้เหลือแค่บุตรสามคน และไม่ได้มีการแต่งตั้งทายาทผู้สืบทอดอย่างเป็นทางการ แม้จะดูเหมือนว่าเขาจะเอ็นดูต่ออ้วนซงบุตรชายคนเล็กสุดท้องของเขา (ซึ่งควบคุมมณฑลกิจิ๋ว) ในฐานะทายาทของเขา อ้วนถำ บุตรชายคนโต (ผู้ว่าราชการมณฑลแห่งมณฑลเฉงจิ๋ว) ได้ท้าทายเขา และทั้งสองพี่น้องได้เข้าสู่สงครามแย่งชิงการสืบทอด ในขณะที่พวกเขาได้ต่อสู้รบกับโจโฉ โจโฉใช้ความขัดแย้งภายในตระกูลอ้วนเพื่อผลประโยชน์ของเขา และในช่วงยุทธการที่ลิหยง (ตุลาคม ค.ศ. 202 – มิถุนายน ค.ศ. 203) เขาได้ขับไล่พวกอ้วนกลับไปยังฐานที่มั่นของพวกเขาที่เงียบกุ๋น (ภายใต้การควบคุมของอ้วนซง) จากนั้นเขาก็ได้ถอนกำลัง รวบรวมดินแดนของเขาที่ได้รับมาแทนที่จะเข้าพิชิตดินแดนเอาไว้ทั้งหมด อาจเป็นไปได้ว่า ฝ่ายค้านในราชสำนักในนครสวี ต้องการหันเหความสนใจของเขา เมื่อคลายความกดดันจากโจโฉแบบชั่วคราว ความบาดหมางระหว่างพี่น้องก็ทวีความรุนแรงมากขึ้น อ้วนซงโอบล้อมฐานที่มั่นของอ้วนภำที่เพงงวนก๋วน (平原 ผิงหยาง) ได้บีบบังคับในภายหลังซึ่งได้ลงเอยด้วยการสมรสพันธมิตรกับโจโฉ มณฑลกิจิ๋วได้ตกเป็นของโจโฉในฤดูร้อน ค.ศ. 204 ภายหลังจากโอบล้อมเงียบกุ๋นเป็นเวลาห้าเดือน โจโฉได้แสดงความเคารพหลุมฝังศพของอ้วนเสี้ยว ภายหลังจากการพิชิตเงียบกุ๋นมาได้ ซึ่งได้ร้องไห้อย่างขมขื่นสำหรับเพื่อนเก่าแก่ของเขาต่อหน้าผู้ติดตามของเขาและได้มอบของขวัญปลอบโยนแก่ครอบครัวของอ้วนเสี้ยวและเงินบำนาญจากรัฐบาล อ้วนซงหลบหนีไปทางเหนือเข้าหากับบุตรชายคนที่สาม ผู้ว่าราชการมณฑลอ้วนฮีแห่งมณฑลอิวจิ๋ว ในขณะที่โกกันผู้ว่าราชการมณฑลแห่งเป๊งจิ๋วแปรพักตร์เข้าด้วยโจโฉ ในเดือนมกราคมและกุมภาพันธ์ ค.ศ. 205 โจโฉได้หันไปเข้าโจมตีอ้วนถำที่ไม่จงรักภักดี เอาชนะและสังหารเขาในยุทธการที่ลำพี้ และพิชิตมณฑลเฉงจิ๋วไว้ได้ โกกันได้ก่อการกบฎใน ค.ศ. 205 แต่ในปี ค.ศ. 206 โจโฉได้เอาชนะและสังหารเขา ได้รวมผนวกดินแดนมณฑลเป๊งจิ๋วเอาไว้อย่างสิ้นเชิง

โจโฉได้แสร้งทำเป็นว่า ได้มีอำนาจเหนือดินแดนทางตอนเหนือของจีนเอาไว้ทั้งหมด ได้ประสบความทุกข์ทรมานจากการก่อกำเริบในท่ามกลางทหารของตน อ้วนซงและอ้วนฮีหลบหนีไปขอความช่วยเหลือจากหัวหน้าชนเผ่าออหวน หัวหน้าชนเผ่าออหวนนามว่าเป๊กตุ้นให้ความช่วยเหลือแก่สองพี่น้องอ้วน และเริ่มเข้าโจมตีดินแดนของโจโฉ ใน ค.ศ. 207 โจโฉนำการทัพที่กล้าหาญในการออกนอกเขตชายแดนของจีนเพื่อทำลายล้างตระกูลอ้วนให้สิ้นไป เขาได้ต่อสู้รบกับพันธมิตรของหัวหน้าชนเผ่าออหวนในยุทธการที่เขาเป๊กลงสาน แม้ว่าจะมีกองกำลังจำนวนมากและเด็ดเดี่ยว โจโฉก็ได้รับชัยชนะ เนื่องจากได้สร้างระบบการขนส่งเสบียงอันชาญฉลาดโดยการขุดคลองสองแห่งขึ้นมาใหม่ และโจมตีขนาบข้างข้าศึก สังหารเป๊กตุ้นและบีบบังคับให้พี่น้องอ้วนต้องหลบหนีอีกครั้ง คราวนี้ พวกเขาได้ไปหากองซุนของเพื่อขอความช่วยเหลือ แต่กองซุนของกลับสั่งให้ประชีวิตพวกเขา และส่งมอบศีรษะของพวกเขาไปให้แก่โจโฉ ทำให้เขาได้รับอำนาจการควบคุมในนามเหนือมณฑลอิวจิ๋ว ในขณะเดียวกัน ชนเผ่าตอนเหนือซึ่งตอนนี้ได้เกิดความหวาดกลัวต่อโจโฉ ส่วนมากของชนเผ่าออหวนที่เหลือได้ยอมสวามิภักดิ์ต่อเขา พร้อมกับเซียนเปย์และซฺยงหนู

การทัพผาแดงและทางใต้ (ค.ศ. 208-210)

[แก้]

ยึดครองเกงจิ๋วเป็นการชั่วคราว (ค.ศ. 208)

[แก้]
แผนที่ของการทัพผาแดง แสดงให้เห็นถึงการไล่ล่าติดตามเล่าปี่ของโจโฉ ยุทธการที่เตียงปัน เซ็กเพ็ก (ผาแดง) การล่าถอยของโจโฉและกังเหลง

ภายหลังความปราชัยของอ้วนเสี้ยวที่กัวต๋อใน ค.ศ. 200 โจโฉบีบบังคับให้เล่าปี่หลบหนีไปหาเล่าเปียวผู้ว่าราชการมณฑลแห่งเกงจิ๋ว แล้วไปประจำการอยู่ชายแดนเหนือในอำเภอซินเอี๋ยเพื่อป้องกันโจโฉไว้ที่อ่าว การโจมตีของเโจโฉในช่วงแรกต่อเล่าปี่ได้ถูกขับไล่ในช่วงยุทธการที่ทุ่งพกบ๋อง (ค.ศ. 200) ภายหลังจากเสร็จสิ้นในการพิชิตภาคเหนือของจีนใน ค.ศ. 207 โจโฉก็หันเหความสนใจไปที่มณฑลเกงจิ๋วอย่างเต็มที่ ซึ่งที่นั้นได้เกิดข้อพิพาทเรื่องทายาทผู้สืบทอดขึ้น ภายหลังจากเล่าเปียวเสียชีวิตลงในเดือนสิงหาคม ค.ศ. 208 ทายาทที่ได้รับเลือกจากหลิวเปียวคือเล่าจ๋อง ลูกชายคนเล็กของเขา แต่ลูกชายคนโตของเขาคือเล่ากี๋ท้าทายเขาจากตำแหน่งผู่ว่าราชการมณฑล ในขณะที่ซุนกวนเข้าโจมตีดินแดนทางตะวันออกของเกงจิ๋ว เล่าปี่คาดหวังที่จะแย่งชิงเกงจิ๋วด้วยตัวเขาเองและโจโฉได้เคลื่อนทัพเพื่อบุกเกงจิ๋วจากทางเหนือด้วยกองทัพที่รวมตัวกันอย่างเร่งรีบในเดือนกันยายน การกระทำของโจโฉได้ปรากฏแล้วว่าเด็ดขาด เล่าจ๋องยอมจำนนต่อเขาโดยปราศจากต่อสู้ขัดขืน ในขณะที่เล่าปี่หลบหนีไปทางใต้ แต่เกิดความล่าช้าเพราะมีผู้อพยพจำนวนมาก กองกำลังทหารระดับชั้นนำจำนวน 5,000 นายของโจโฉได้ติดตามไล่ล่าเล่าปี่เพื่อหมายจะจับกุมและเอาชนะเขาได้ในยุทธการที่เตียงปัน ซึ่งเข้ายึดขบวนสัมภาระและขบวนผู้อพยพ ส่วนเล่าปี่เองหลบหนีไปทางตะวันออกได้อย่างหวุดหวิดพร้อมกับสหายผู้ร่วมเดินทางจำนวนหนึ่งได้เข้าสมทบกับเล่ากี๋ที่แฮเค้า และส่งจูกัดเหลียงเพื่อเจรจาเพื่อเป็นพันธมิตรกับซุนกวน ซึ่งในที่สุดก็ยอมตกลงที่จะเข้าร่วมกองกำลัง โจโฉได้ควบคุมพื้นที่ส่วนใหญ่ของแม่น้ำแยงซีโดยยึดฐานทัพเรือกังเหลง และออกคำสั่งให้กองทัพส่วนใหญ่ให้แล่นเรือไปตามแม่น้ำสู่เซ็กเพ็ก (ผาแดง) ในขณะที่กองทัพที่เหลือได้กรีฑาทัพทางบก เพื่อเอาชนะพันธมิตรที่ถูกสร้างขึ้นมาใหม่อย่างรวดเร็วเพียงครั้งเดียว

ยุทธการที่เซ็กเพ็ก

[แก้]

ในยุทธการที่เซ็กเพ็ก (ผาแดง) ในช่วงฤดูหนาว ค.ศ. 208 กองทัพของโจโฉพ่ายแพ้ให้กับทัพพันธมิตรของเล่าปี่และซุนกวน (ซึ่งต่อมาได้สถาปนาจ๊กก๊กและง่อก๊กตามลำดับ กลายเป็นคู่ปรับคนสำคัญของเขาในการรวบรวมแผ่นดินจีนให้เป็นหนึ่งอีกครั้ง) แม้ว่าจะมีกองทัพจำนวนมากมาย กองทัพทางเหนือก็ต้องหมดเรี่ยวแรงจากการเดินทัพ มีแนวโน้มว่าจะเจ็บป่วยในสภาพอากาศทางใต้ที่ไม่คุ้นชิน และเกิดอาการเมาเรือบนกองเรือแม่น้ำ(ซึ่งพวกเขาได้พยายามแก้ไขปัญหานี้โดยการผูกติดเรือเข้าด้วยกัน) ในขณะที่ฝ่ายซุนกวนโดยเฉพาะอย่างทหารที่ยังคงมีความสดใหม่และมีประสบการณ์ในการทำสงครามทางแม่น้ำ แม่ทัพฝ่ายพันธมิตร อุยกายแสร้งสวามิภักดิ์แก่ฝ่ายเหนือ แต่ได้ใช้ประโยชน์จากข้อเท็จจริงที่เรือของฝ่ายโจโฉถูกล่ามโซ่ติดเข้าไว้ด้วยกันเพื่อทำลายพวกเขาด้วยเรือติดไฟ ในขณะเดียวกัน การโจมตีด้วยการยกพลขึ้นบกของฝ่ายพันธมิตรภายใต้การนำโดยจิวยี่บนเส้นทางสู่กองทัพทางบกของโจโฉที่ฮัวหลิม (烏林 อูหลิน)

ตลอดช่วง ค.ศ. 209 และ ค.ศ. 210 ผู้บัญชาการทหารของโจโฉได้มีส่วนร่วมในความพยายามป้องกันฝ่ายซุนกวน ในยุทธการที่กังเหลงและอิเหลง ผู้บัญชาการทหารของโจโฉในภาคเหนือของเกงจิ๋ว (เช่น โจหยิน) ได้ต่อสู้รบกับซุนกวน พวกเขาได้ประสบความสำเร็จแบบผสม และโจโฉสามารถรักษาอาณาเขตบางส่วนไว้ในทางเหนือของมณฑล ในเวลาเดียวกัน พวกเขาได้หยุดยั้งการโจมตีที่หับป๋าและปราบปรามการก่อจลาจลในหลู่ซึ่งกองกำลังของซุนกวนได้พยายามให้ความช่วยเหลือ ป้องกันไม่ให้ซุนกวนจากการมุ่งเข้าโจมตีที่ฉิวฉุน อย่างไรก็ตาม ผู้บัญชาการทหารของโจโฉในทางใต้ของจเกงจิ๋ว ได้ถูกตัดขาดจากส่วนที่เหลือของกองกำลังของโจโฉ ซึ่งได้ยอมสวามิภักดิ์แก่เล่าปี่ ในช่วงแรก เล่ากี๋ได้สืบทอดตำแหน่งต่อจากบิดาในฐานะผู้ตรวจการแห่งมณฑลเกงจิ๋ว แต่กลับเสียชีวิตลงใน ค.ศ. 209 ภายหลังจากนั้นซุนกวนได้แต่งตั้งให้เล่าปี่เป็นผู้ว่าราชการแห่งมณฑลเกงจิ๋ว และให้เข้าพิธีวิวาท์กับซุนฮูหยิน น้องสาวของตนเพื่อประสานสัมพันธ์ความเป็นพันธมิตรร่วมกัน

การทัพในตะวันตกเฉียงเหนือ (ค.ศ. 211-220) และถึงแก่พิราลัย

[แก้]
  ดินแดนของโจโฉใน ค.ศ. 206
  ดินแดนทีถูกพิชิตโดยโจโฉ ค.ศ. 207–215
  ขุนศึกคนอื่น ๆ

ในค.ศ. 211 สถานการณ์ในทางใต้เริ่มมีเสถียรภาพและโจโฉได้ตัดสินใจที่จะบดขยี้ศัตรูที่เหลืออยู่ในภาคเหนือ ไปทางตะวันตกของเตียงฮัน(ในเมืองจั่วผิงอี้) ในเมืองฮันต๋งบนแม่น้ำฮั่นซุย ในภาคเหนือของมณฑลเอ๊กจิ๋ว เตียวฬ่อซึ่งปกครองที่นั่นในการก่อกบฏต่อต้านราชวงศ์ฮั่น ดำเนินการปกครองรัฐตามระบอบของตนเอง โจโฉส่งจงฮิวพร้อมทั้งกองทัพเพื่อบีบบังคับให้เตียวฬ่อยอมสวามิภักดิ์ อย่างไรก็ตาม สิ่งนี้ได้รบกวนขุนศึกจำนวนหนึ่งในหุบเขาแม่น้ำอุยโห และมณฑลเลียงจิ๋วที่กว้างขวาง ซึ่งถูกรวบรวมภายใต้กำมือของหันซุยและม้าเฉียวเพื่อต้านทานโจโฉ ซึ่งเชื่อว่าการกรีฑาทัพเข้าโจมตีเตียวฬ่อของเขานั้น มีเป้าหมายมาที่พวกเขาโดยตรง โจโฉนำกองทัพด้วยตนเองในการต่อสู้รบกับพันธมิตรกลุ่มนี้ และเอาชนะด้วยกลอุบายต่อกองทัพฝ่ายกบฏในแต่ละรอบในยุทธการที่ด่านตงก๋วน พันธมิตรได้แตกแยกกันและผู้นำหลายคนถูกสังหาร โจโฉใช้เวลาหนึ่งหรือสองเดือนถัดมาในการไล่ล่าผู้นำบางคน ซึ่งมีหลายคนได้ยอมสวามิภักดิ์ต่อเขา เขาได้ทิ้งแฮหัวเอี๋ยนเพื่อสะสางงานในภูมิภาคและเดินทางกลับบ้านใน ค.ศ. 212 ใน ค.ศ. 213 เขาได้เปิดฉากการบุกครองในดินแดนของซุนกวนโดยข้ามแม่น้ำห้วย แต่กลับพ่ายแพ้ในยุทธการที่ยี่สู ซึ่งเป็นการยืนยันถึงการควบคุมทางใต้ของซุนกวน

ใน ค.ศ. 213 โจโฉได้รับยศขุนนางเป็น "วุยก๋ง" (魏公 เว่ยกง) และได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เก้าขั้นและสิบหัวเมืองอยู่ในปกครอง เป็นที่รู้จักกันคือวุย (เว่ย์) ในปีเดียวกัน เขาได้กรีฑาทัพทางใต้และเข้าโจมตียี่สู ขุนพลของซุนกวนนามว่าลิบองหยุดยั้งการโจมตีได้ประมาณเดือนหนึ่ง และโจโฉก็ต้องล่าถอยไปในที่สุด ใน ค.ศ. 215 โจโฉเคลื่อนทัพและเข้ายึดครองฮันต๋ง ในปี 216 โจโฉได้เลื่อนยศขึ้นเป็นเจ้าสืบตระกูล "วุยอ๋อง" (魏王 เว่ย์หวัง) ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา โจโฉ เล่าปี่ และซุนกวนยังคงรวบรวมอำนาจไว้ในภูมิภาคของตนอย่างต่อเนื่อง แม้ว่าผ่านสงครามหลายครั้ง จีนได้ถูกแบ่งออกเป็นสามอำนาจ ได้แก่ วุย จ๊ก และง่อ ซึ่งได้ต่อสู้ในสมรภูมิอย่างเป็นระยะๆ โดยปราศจากการเสียสมดุลอย่างเห็นได้ชัดเจนในการสนับสนุนของใครก็ตาม ข้อยกเว้นเพียงอย่างเดียวคือกองกำลังของเล่าปี่สามารถเข้ายึดครองฮันต๋งมาจากกองทัพของโจโฉ ภายหลังจากการทัพที่ใช้เวลาสามวัน

จิตรกรรมฝาผนังของสุสานในลกเอี๋ยงซึ่งอยู่ในช่วงสมัยวุยก๊ก(ค.ศ. 220-266) ซึ่งแสดงให้เห็นถึงชายที่นั่งอยู่ซึ่งสวมฮั่นฝู ซึ่งเป็นเสื้อคลุมยาวที่ทำมาจากผ้าไหม

ในปี 220 โจโฉได้ถึงแก่พิราลัยในลกเอี๋ยง ขณะมีอายุ 66 ปี โดยไม่สามารถรวบรวมแผ่นดินจีนให้เป็นหนึ่งภายใต้การปกครองของเขา ซึ่งถูกสันนิษฐานว่า "ป่วยเป็นโรคปวดศีรษะ" เขาได้สั่งเสียไว้ว่า ให้ฝังศพไว้ใกล้กับสุสานแห่งซีเหมินเป้าในเย่ว์ โดยปราศจากสมบัติต่าง ๆ ได้แก่ ทองและอัญมนีหยก และสั่งให้ทหารของตนที่คอยประจำการในชายแดน ให้ประจำตำแหน่งอยู่ในที่ของพวกเขาและไม่อนุญาตให้พวกเขาได้เข้าร่วมพิธีศพตามคำพูดของเขาว่า "ประเทศยังไม่มั่นคง"

โจผี ลูกชายคนโตของโจโฉ ได้สืบยศขุนนางต่อจากบิดา หลังจากนั้นหนึ่งปี โจผีบีบบังคับพระเจ้าเหี้ยนเต้ให้สละราชสมบัติ และประกาศตั้งตนเองเป็นจักรพรรดิองค์แรกของวุยก๊ก ในการนี้ โจโฉได้รับการเฉลิมพระยศขึ้นเป็น "วุยไท่จูอู่ฮ่องเต้" (魏太祖武皇帝)

สุสานหลวงโจโฉ

[แก้]

28 ธันวาคม 2009 ทางการจีนประกาศว่าได้ขุดค้นพบสุสานที่เชื่อว่าน่าจะเป็นของโจโฉ ที่เมืองอันหยาง มณฑลเหอหนาน ตอนกลางของประเทศจีน โดยสุสานมีอาณาบริเวณ 740 ตารางเมตร มีโครงกระดูกของชายที่น่าจะเสียชีวิตในอายุราว 60 ปี ซึ่งคาดว่าน่าจะเป็นโจโฉ และโครงกระดูกของผู้หญิงอีก 2 ซึ่งน่าจะเป็นมเหสี และป้ายศิลาจารึกพระนามของโจโฉ[4]

ฐานันดรศักดิ์

[แก้]
  • ค.ศ. 196 : อู่ผิงฮอ (武平侯 "ท้าวพระยาอู่ผิง")
  • ค.ศ. 213 : วุยก๋ง (魏公 "เจ้าพระยาวุย")
  • ค.ศ. 216 : วุยอ๋อง (魏王 "เจ้าฟ้าวุย")
  • ค.ศ. 220 : วุยไท่จู่อู่ฮ่องเต้ (魏太祖武皇帝 "จักรพรรดิโยธินวุยไท่จู่") (เฉลิมพระยศหลังพิราลัย)

พระราชวงศ์

[แก้]
  • พระบิดา โจโก๋
  • พระปิตุลา โจเต๊ก
  • ภริยา
    • เต็งฮูหยิน
    • เล่าชี
    • เล่าฮูหยิน
    • พระนางเปียนซี (武宣卞皇后) มารดาของโจผี และโจเซี่ย
    • เจ้าคุณพระหลิง (丁夫人)
    • เจ้าคุณพระหลิว (劉夫人)
    • เจ้าคุณพระอัน (環夫人)
    • เจ้าคุณพระหลู (杜夫人)
    • เจ้าคุณพระฉิน (秦夫人)
    • เจ้าคุณพระซิน(尹夫人)
    • เจ้าจอมหวัง (王昭儀)
    • หม่อมซุน (孫姬)
    • หม่อมหลี่ (李姬)
    • หม่อมโซว (周姬)
    • หม่อมเล่า (劉姬)
    • หม่อมซ่ง (宋姬)
    • หม่อมโซว (趙姬)
    • นางเฉิน (陳妾)

พระราชโอรส

[แก้]

พระราชธิดา

[แก้]

ความนิยมในรูปแบบอื่น ๆ

[แก้]

ภาพยนตร์

[แก้]
  • ในภาพยนตร์อิงประวัติศาสตร์ของจีน สามก๊ก ขุนศึกเลือดมังกร กำกับโดย แดเนียล ลี และ สามก๊ก โจโฉแตกทัพเรือ กำกับโดยจอห์น วู โจโฉได้มีบทบาทสำคัญในเรื่อง
    • ในภาพยนตร์เรื่อง สามก๊ก ขุนศึกเลือดมังกร โจโฉรับบทโดยหลิวสงเหยิน ในภาพยนตร์เรื่องนี้ โจโฉได้ปรากฏตัวครั้งเดียวในศึกทุ่งเตียงปัน ขณะที่มองจูล่งที่กำลังฝ่าทัพของตนเพื่อช่วยเหลือลูกชายของเล่าปี่อย่างชื่นชม
    • ในภาพยนตร์เรื่อง สามก๊ก โจโฉแตกทัพเรือ โจโฉรับบทโดยจางเฟิงอี้ โดยในภาพยนตร์เรื่องนี้ โจโฉปรากฏตัวครั้งแรกในตอนที่ขอพระบรมราชานุญาตจากพระเจ้าเหี้ยนเต้ในการปราบปรามเล่าปี่และซุนกวน โจโฉได้นำทัพไปรบกับพันธมิตรเล่า-ซุนที่ผาแดง แต่พ่ายแพ้ จึงล่าถอยหนี ระหว่างทางถูกทหารข้าศึกล้อมจะจับตัวทุกเส้นทาง แต่ในเส้นทางถอยหนีสุดท้าย แม่ทัพกวนอูได้ไว้ชีวิตให้กลับไป เพราะสำนึกในบุญคุณที่โจโฉเคยรับอุปการะเลี้ยงเลี้ยงดูไว้เป็นอย่างดี
  • ในภาพยนตร์เรื่อง สามก๊ก ตอน โจโฉ มหาอุปราชผู้หวังครองแผ่นดิน ซึ่งเคอ จุ้นสงได้รับบทนี้ และภาพยนตร์เรื่องนี้ได้กล่าวถึงชีวประวัติของโจโฉตั้งแต่ต้นจนถึงตอนเสียชีวิต
  • ภาพยนตร์เรื่อง โจโฉ The Assassins (铜雀台) นำแสดงโดย โจว เหวินฟะ ซึ่งรับบทเป็นโจโฉ และมีเนื้อหาในช่วงเหตุการณ์ที่ พระเจ้าเหี้ยนเต้กับนางฮกเฮาคิดกำจัดโจโฉ

ละครโทรทัศน์

[แก้]
  • สามก๊ก ฉบับละครโทรทัศน์ ของประเทศจีน ที่สร้างขึ้นเพื่อเป็นการเชิดชูและยกย่องวรรณกรรมอมตะของจีนเรื่องสามก๊ก ในปี พ.ศ. 2537 ได้มีการถ่ายทอดเรื่องราวของโจโฉตั้งแต่รับราชการเป็นขุนนางชั้นผู้น้อยจนกระทั่งเสียชีวิต โดย เปากั๊วอัน นักแสดงชาวจีนที่รับบทโจโฉ
  • สามก๊ก (ละครโทรทัศน์ชุดใหม่) เป็นละครที่ออกฉายในปี พ.ศ. 2553 มีการถ่ายทอดเรื่องราวของโจโฉตั้งแต่รับราชการและคิดฆ่าตั๋งโต๊ะไปจนถึงเสียชีวิต แสดงโดยเฉินเจี้ยนปิน

การ์ตูนไทย

[แก้]
  • ในการ์ตูน สามก๊ก มหาสนุก ผลงานการ์ตูนสามก๊กของสุชาติ พรหมรุ่งโรจน์ ได้มีการกล่าวถึงโจโฉด้วยเช่นกัน โดยโจโฉในสามก๊กมหาสนุกมีลักษณะรูปร่างเตี้ย และมักชอบพูดว่า "ความคิดอันสูงส่งมักตรงกันเสมอ"

วิดีโอเกม

[แก้]
  • โจโฉเป็นตัวละครในเกมซีรีส์ Dynasty Warriors โดยจัดเป็นหัวหน้าแห่งวุยก๊ก และปรากฏในทุกๆเกมของซีรีส์ อาทิ Dynasty Warriors 1 ถึง Dynasty Warriors 8 ในเกมทุกซีรีส์ที่กล่าวมา ฝ่ายโจโฉจะเป็นฝ่ายสีน้ำเงิน
  • โจโฉเป็นตัวละครในเกมซีรีส์ Romance of the Three Kingdoms ซึ่งสามารถเล่นบงการตัวละครโจโฉได้ สามารถอยู่ในตำแหน่งต่างกันออกไปได้ อาทิ เจ้าเมือง ผู้ครองแคว้น ไปตลอดจนถึงฮ่องเต้ ซึ่งฝ่ายโจโฉมักปรากฏเป็นสีฝ่ายน้ำเงิน ในตัวเกมนั้น โจโฉถือว่ามีความสามารถสูงกว่าตัวละครอื่นๆอย่างมาก ทั้งในด้านการรบ มนุษย์สัมพันธ์ ความรู้ และกลยุทธ์ต่างๆ

อ้างอิง

[แก้]
  • หนังสือ คุยเฟื่องเรื่องสามก๊ก โดย โกวิท ตั้งตรงจิตร, พ.ศ. 2550 สำนักพิมพ์ชมรมเด็ก
  1. de Crespigny, Rafe (2007). A biographical dictionary of Later Han to the Three Kingdoms (23–220 AD). Brill. pp. 35, 38. ISBN 978-90-04-15605-0.
  2. de Crespigny (2010), p. 35
  3. (治世之能臣,乱世之奸雄。) ตันซิ่ว. จดหมายเหตุสามก๊ก, เล่ม 1, ชีวประวัติโจโฉ.
  4. "จีนขุดพบสุสาน'โจโฉ'อายุ 2 พันปี". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2010-04-03. สืบค้นเมื่อ 2009-12-28.

ดูเพิ่ม

[แก้]
ก่อนหน้า โจโฉ ถัดไป
สถาปนาตำแหน่งใหม่ วุยอ๋อง (เว่ย์หวัง)
(ค.ศ. 216 – 220)
โจผี
ว่าง
ดำรงตำแหน่งล่าสุด
ตั๋งโต๊ะ
(ในฐานะอัครมหาเสนาบดีแห่งรัฐ)
อัครมหาเสนาบดี
แห่งราชวงศ์ฮั่น

(ค.ศ. 208 – 220)
โจผี