ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พูดคุย:รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล"

ไม่รองรับเนื้อหาของหน้าในภาษาอื่น
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Portalian (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Wasin147 (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 2: บรรทัด 2:
== ยุบบทความ [[ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพมหานคร]] ==
== ยุบบทความ [[ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพมหานคร]] ==
คิดว่าควรยุบบทความ [[ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพมหานคร]] ครับ ดูเหตุผลและร่วมอภิปรายได้ที่ [[พูดคุย:ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพมหานคร]] --[[ผู้ใช้:Portalian|Portalian]] ([[คุยกับผู้ใช้:Portalian|คุย]]) 00:43, 15 มีนาคม 2563 (+07)
คิดว่าควรยุบบทความ [[ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพมหานคร]] ครับ ดูเหตุผลและร่วมอภิปรายได้ที่ [[พูดคุย:ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพมหานคร]] --[[ผู้ใช้:Portalian|Portalian]] ([[คุยกับผู้ใช้:Portalian|คุย]]) 00:43, 15 มีนาคม 2563 (+07)

== สีประจำเส้นทาง ของระบบรถไฟฟ้า สายสุขุมวิท และ สายสีลม ==

ว่าด้วยเรื่องระบบขนส่งมวลชนทางราง มีการถกเถียงกันเป็นระยะเวลาหนึ่ง ถึงสีประจำเส้นทาง ของระบบรถไฟฟ้า สายสุขุมวิท และ สายสีลม

โดยผู้แก้ไขวิกิพีเดียกลุ่มหนึ่ง ได้เห็นด้วยกับการยึดตามการใช้งานของรถไฟฟ้าบีทีเอส ครั้นเปิดให้บริการเมื่อ พ.ศ. 2542 ที่มีการใช้งานอยู่จนถึงปัจจุบัน โดยสายสุขุมวิท = สีเขียวอ่อน และ สายสีลม = สีเขียวเข้ม <ref> [https://www.livingpop.com/bts-lightgreen-sukhumvit-line/ สายสุขุมวิท]</ref> <ref>[https://www.livingpop.com/bts-darkgreen-silom-line/ สายสีลม] </ref> (สามารถอ้างอิงได้จากประกาศและหนังสือหลายๆฉบับ จาก บีทีเอส)

แต่อีกกลุ่ม ก็ได้ยึกจากแผนแม่บท สนข. (เดือนมิถุนายน พ.ศ. 2553) เนื่องจากเป็นหน่วยงานรัฐบาล ที่มีความน่าเชื่อถือ และเป็นแหล่งอ้างอิงที่ใหม่กว่า โดยสายสีลม = สีเขียวอ่อน และ สายสุขุมวิท = สีเขียวเข้ม <ref>[https://www.otp.go.th/index.php/post/view?id=1657&id=1657 แผนแม่บทการพัฒนาโครงข่ายระบบขนส่งมวลสายหลักและสายรองในกรุงเทพฯและปริมณฑล M-MAP] </ref> (อ้างอิงจาก แผนแม่บทการพัฒนาโครงข่ายระบบขนส่งมวลสายหลักและสายรองในกรุงเทพฯและปริมณฑล M-MAP ปีพ.ศ. 2553)

แต่อย่างไรก็ตาม ล่าสุด เมื่อวันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2564 กรมขนส่งทางราง ก็ได้ใช้งานสีประจำเส้นทาง ตามที่รถไฟฟ้าบีทีเอส ได้ใช้งานอยู่ในปัจจุบัน โดยสายสุขุมวิท = สีเขียวอ่อน และ สายสีลม = สีเขียวเข้ม <ref>[https://www.drt.go.th/public-relations/%E0%B9%82%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%87%E0%B8%82%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%A3%E0%B8%96%E0%B9%84%E0%B8%9F%E0%B8%9F%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B9%83%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%82%E0%B8%95%E0%B8%81%E0%B8%A3 กรมขนส่งทางราง]</ref>

วิกิพีเดีย ควรยึดการใช้สีประจำเส้นทางของรถไฟฟ้าทั้งสองสาย ตามแหล่งอ้างอิงใด? --[[ผู้ใช้:Wasin147|Wasin147]] ([[คุยกับผู้ใช้:Wasin147|คุย]]) 22:54, 10 พฤษภาคม 2564 (+07)

รุ่นแก้ไขเมื่อ 22:54, 10 พฤษภาคม 2564

รถไฟฟ้า รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล เป็นส่วนหนึ่งของโครงการวิกิรถไฟฟ้าและสถานีย่อย โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อรวบรวมเรื่องราวทุกอย่างเกี่ยวกับระบบรถไฟฟ้าและสถานีรถไฟฟ้าในเมืองสำคัญต่าง ๆ ทั่วโลก ทุกคนสามารถมีส่วนร่วมในโครงการนี้ได้ด้วยการช่วยกันพัฒนาบทความ รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล หรือแวะไปที่หน้าโครงการหรือหน้าสถานีย่อยเพื่อดูข้อมูลเพิ่มเติม
 ดี  บทความนี้อยู่ที่ระดับดี ตามการจัดระดับการเขียนบทความ

ยุบบทความ ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพมหานคร

คิดว่าควรยุบบทความ ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพมหานคร ครับ ดูเหตุผลและร่วมอภิปรายได้ที่ พูดคุย:ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพมหานคร --Portalian (คุย) 00:43, 15 มีนาคม 2563 (+07)ตอบกลับ

สีประจำเส้นทาง ของระบบรถไฟฟ้า สายสุขุมวิท และ สายสีลม

ว่าด้วยเรื่องระบบขนส่งมวลชนทางราง มีการถกเถียงกันเป็นระยะเวลาหนึ่ง ถึงสีประจำเส้นทาง ของระบบรถไฟฟ้า สายสุขุมวิท และ สายสีลม

โดยผู้แก้ไขวิกิพีเดียกลุ่มหนึ่ง ได้เห็นด้วยกับการยึดตามการใช้งานของรถไฟฟ้าบีทีเอส ครั้นเปิดให้บริการเมื่อ พ.ศ. 2542 ที่มีการใช้งานอยู่จนถึงปัจจุบัน โดยสายสุขุมวิท = สีเขียวอ่อน และ สายสีลม = สีเขียวเข้ม [1] [2] (สามารถอ้างอิงได้จากประกาศและหนังสือหลายๆฉบับ จาก บีทีเอส)

แต่อีกกลุ่ม ก็ได้ยึกจากแผนแม่บท สนข. (เดือนมิถุนายน พ.ศ. 2553) เนื่องจากเป็นหน่วยงานรัฐบาล ที่มีความน่าเชื่อถือ และเป็นแหล่งอ้างอิงที่ใหม่กว่า โดยสายสีลม = สีเขียวอ่อน และ สายสุขุมวิท = สีเขียวเข้ม [3] (อ้างอิงจาก แผนแม่บทการพัฒนาโครงข่ายระบบขนส่งมวลสายหลักและสายรองในกรุงเทพฯและปริมณฑล M-MAP ปีพ.ศ. 2553)

แต่อย่างไรก็ตาม ล่าสุด เมื่อวันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2564 กรมขนส่งทางราง ก็ได้ใช้งานสีประจำเส้นทาง ตามที่รถไฟฟ้าบีทีเอส ได้ใช้งานอยู่ในปัจจุบัน โดยสายสุขุมวิท = สีเขียวอ่อน และ สายสีลม = สีเขียวเข้ม [4]

วิกิพีเดีย ควรยึดการใช้สีประจำเส้นทางของรถไฟฟ้าทั้งสองสาย ตามแหล่งอ้างอิงใด? --Wasin147 (คุย) 22:54, 10 พฤษภาคม 2564 (+07)ตอบกลับ

  1. สายสุขุมวิท
  2. สายสีลม
  3. แผนแม่บทการพัฒนาโครงข่ายระบบขนส่งมวลสายหลักและสายรองในกรุงเทพฯและปริมณฑล M-MAP
  4. กรมขนส่งทางราง